งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มาตรการประหยัดพลังงาน ตามมติคณะรัฐมนตรี 20 มีนาคม 2555

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มาตรการประหยัดพลังงาน ตามมติคณะรัฐมนตรี 20 มีนาคม 2555"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มาตรการประหยัดพลังงาน ตามมติคณะรัฐมนตรี 20 มีนาคม 2555
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน ตามมติคณะรัฐมนตรี 20 มีนาคม 2555 ชนานัญ บัวเขียว ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านนโยบายและแผนอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน

2 มติคณะรัฐมนตรี 20 มีนาคม 2555
ความเป็นมา มติคณะรัฐมนตรี 20 มีนาคม 2555 ให้สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้ตัวชี้วัด (Key Performance Index: KPI) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน” เป็นหนึ่งในกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการต่อไป โดยเริ่มตั้งแต่ปีงบประมาณ 2555 คณะรัฐมนตรีเศรษฐกิจนัดพิเศษ 16 มีนาคม 2554 เตรียมมาตรการรองรับบรรเทาผลกระทบภาวะเศรษฐกิจ รับทราบภาวะเศรษฐกิจในช่วง 2 เดือนแรกของปี (มกราคม-กุมภาพันธ์ ) ให้กระทรวงพาณิชย์ดูแลราคาสินค้าตั้งแต่ต้นทางจนถึงมือผู้บริโภคให้ได้รับความเป็นธรรม ให้กระทรวงพลังงานจับตาสถานการณ์ราคาพลังงานในตลาดโลกอย่างใกล้ชิด เพื่อ หาแนวทางบรรเทาผลกระทบ เบื้องต้นให้เตรียมมาตรการรองรับ ให้หน่วยงานราชการดำเนินมาตรการลดใช้พลังงานลงให้ได้อย่างน้อย 10% เพื่อลด การนำเข้าน้ำมันจากต่างประเทศ

3 ประหยัดพลังงาน ช่วยชาติ

4 ข้าราชการ “ผู้นำ” ลดใช้พลังงาน
มี พรบ.อนุรักษ์พลังงานฯ มีกฎกระทรวงควบคุม มีเชื้อเพลิงทางเลือก มีการลงทุนระบบขนส่ง “ของหลวง” “ผู้นำ” ใช้อย่างรู้คุณค่า ไม่ตระหนักในความสำคัญ ! คิดว่าไม่ใช่ความรับผิดชอบ ของตน! คิดว่าตนไม่ใช่เป็นเจ้าของหรือหุ้นส่วน ! คิดว่าเป็นเรื่อง ยุ่งยาก ไม่มีเวลา ! คิดว่าตนไม่ได้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย !

5  ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้น
มติคณะรัฐมนตรีกับภาครัฐเข้มข้นขึ้น พ.ศ ช่วงที่มาตรการประหยัดพลังงานภาครัฐได้รับการกำหนดเป็น KPI เป็นช่วงที่ได้เห็นความร่วมมือลดใช้พลังงานจากหน่วยงานราชการมากที่สุด พ.ศ.2553 21 ก.ย 53 ก.พ.ร. ขอให้ยกเลิกตั้งแต่ปี 54 ครม. เห็นชอบตาม ก.พ.ร. พ.ศ.2552 13 ต.ค 52 ก.พ.ร. ขอให้ยกเลิก สศช. ก.คลัง เห็นควรคงไว้ ครม. กำหนดให้คง KPI ไว้ พ.ศ.2550 สำรวจความพึงพอใจ เริ่มใช้ Energy Utilization Index (EUI), เป็นเกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพ KPI พ.ศ.2548 เริ่มกำหนดเป็น KPI ของส่วนราชการ กำหนดเกณฑ์ ลด 10% จากการใช้ปีฐาน 2546 พ.ศ.2518, ลด 10% รถราชการเครื่องยนต์<1,800 ซี.ซี. พ.ศ.2543, ลด 5% ให้มีแผน เป้าหมาย ให้ตั้งคณะทำงาน รายงาน สนพ. ทุกไตรมาศ พ.ศ.2545 ลด 5% ของปี 2544 + บังคับ ไม่ทำมีโทษ, + รายงาน สนพ ทุกไตรมาศ พ.ศ.2544, ทำตาม 28 พย. 43 + แอร์ < 25C, ขับ < 90 กม/ชม ขับ 91 เติม 91 ดูแลรถ ดูแลลิฟต์ พ.ศ.2547 สำนักงบฯ ตัดงบทุกหน่วยงานปี ไตรมาศ 4 ลง 10% 13 มี.ค /31 ส.ค / 28 พ.ย พ.ศ.2547 ลด 5% ของปี 2544 + ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้เป็น Bonus (ไม่สามารถปฏิบัติได้ ต้องใช้หนี้สาธารณะก่อน) พ.ศ.2521, ลด 10%, ใช้รถสาธารณะในการเดินทาง, แอร์ <27 C พ.ศ.2546 ตัดงบสาธารณูปโภค ปี 46 ลง 5%

6 โครงสร้างการประมวลผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ : 10 และ 12 ส่วนราชการ จังหวัด อุดมศึกษา บริหารส่วนกลางในสังกัด กรมที่จัดตั้งขึ้นตาม กฎกระทรวง (159) บริหารส่วนภูมิภาคที่ จัดตั้งขึ้นตาม กฎกระทรวง (7,616) สถานศึกษาของรัฐใน สังกัดระทรวง ศึกษาธิการ กระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา และกระทรวงวัฒนธรรม ที่จัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (67) ตั้งขึ้นเป็นหน่วยงาน ภายในกรมนั้น ตาม กฎกระทรวง แต่ ปฏิบัติงานอยู่ในภูมิภาค (3,525) ส่วนราชการที่ตั้งขึ้นเป็น หน่วยงานภายในกรมนั้น ที่ไม่ได้จัดตั้งขึ้นตาม กฎกระทรวง (331) การรายงานผลการดำเนินงานและการประเมินผลของส่วนราชการนั้นๆ ให้พิจารณาจากสถานที่ตั้ง ของส่วนราชการว่า ตั้งอยู่ ณ จังหวัดใด ให้รายงานผลการดำเนินงานไปรวมกับจังหวัดที่ตั้งอยู่นั้น น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ร้อยละ 2 ร้อยละ 2

7 เกณฑ์การให้คะแนนประเมินผล
คะแนนการประเมินผลการประหยัดพลังงาน คิดจากคะแนนเฉลี่ยของหน่วยงานในสังกัดทั้งหมด ด้านไฟฟ้า [2.5 โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนของแต่ละหน่วยงาน ระดับ ประเด็น คะแนน 1 1.1 จัดตั้ง “คณะทำงานลดใช้พลังงาน” และหัวหน้าหน่วยงานลงนามในคำสั่ง แต่งตั้งระหว่างวันที่ 21 มีนาคม - 30 มิถุนายน 2555 0.250 1.2 จัดทำ “แผนปฏิบัติการลดการใช้ไฟฟ้า” และรายงานติดตามผล 2 ครั้ง 2 2.1 ข้อมูล ปริมาณการใช้ไฟฟ้า (kWh) ปีงบประมาณ พ.ศ ครบถ้วน 0.150 2.2 ข้อมูล ปริมาณการใช้ไฟฟ้า (kWh) ปีงบประมาณ พ.ศ ครบถ้วน 2.3 ข้อมูล ปริมาณการใช้ไฟฟ้า (kWh) ปีงบประมาณ พ.ศ ครบถ้วน 0.200 3 ปริมาณการใช้ไฟฟ้า ไม่เปลี่ยนแปลง 0.500 4 ประหยัดไฟฟ้าได้ มากกว่าร้อยละ ถึง ร้อยละ 5 ประหยัดไฟฟ้าได้ มากกว่าร้อยละ ถึง ร้อยละ ขึ้นไป * หน่วยงานที่มีปริมาณการใช้ไฟฟ้าในปีงบประมาณ 2554 เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับ ปีงบประมาณ 2551 ต้องประหยัดไฟฟ้าให้ได้ร้อยละ ขึ้นไป 0.5 0.5 1.5 การประเมินผลประหยัดพลังงาน ด้านการใช้ไฟฟ้า และน้ำมันใช้หลักการเดียวกัน โดยปริมาณการใช้ไฟฟ้า (kWh) จะเปลี่ยนเป็น ปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง (ลิตร)

8 หลักการคิดคะแนนแต่ละหน่วยงาน
คะแนน ระดับ 1 & 2 ความครบถ้วนของข้อมูล คะแนนเต็ม 1.000 1.00 1.00 1.00 0.60 0.75 คณะทำงาน, ก่อน 30/06 มีแผนปฏิบัติ มีรายงาน 2 ครั้ง คะแนน ระดับ 1 & 2 ความครบถ้วนของข้อมูล คะแนนเต็ม 1.000 คะแนนไม่เต็ม 1.000 คะแนน ระดับ 3 & 5 ความสามารถประหยัดได้ คะแนนเต็ม 1.500 1.50 1.06 0.50 ปี 54 < ปี 51 = 10% ปี 54 > ปี 51 = 15% ปริมาณการใช้ ปี 51 ปริมาณการใช้ ปี 54 ปริมาณการใช้ ปี 55 15.00% 10.00% 10.00% ร้อยละ ความต่าง ปี 55 เทียบกับ ปี 54 ปริมาณการใช้ (หน่วย) ปี 54 – ปี 55 17.39% 5.56% 0.00% X 100 ดูที่ Slide 10 ปี 54 เทียบบัญญัติไตรยางศ์ % 0.00 >5.01 รวมคะแนน ระดับ 1-5 คะแนนเต็ม 2.500 2.50 2.06 1.50 0.60 0.75

9 หลักการคิดคะแนนส่วนราชการ* คะแนน ระดับ 1 & 2 ความครบถ้วนของข้อมูล
คะแนนเต็ม 1.000 1.00 1.00 1.00 0.60 0.75 4.35 ⨬ N=5 คณะทำงาน, ก่อน 30/06 มีแผนปฏิบัติ มีรายงาน 2 ครั้ง คะแนน ระดับ 1 & 2 ความครบถ้วนของข้อมูล คะแนนเต็ม 1.000 คะแนนไม่เต็ม 1.000 0.87 คะแนน ระดับ 3 & 5 ความสามารถประหยัดได้ คะแนนเต็ม 1.500 300 345 300 จำนวนหน่วยงาน  > 50% ของทั้งหมด ปริมาณการใช้ ปี 51 100 300 ปริมาณการใช้ ปี 54 115 130 345 ปริมาณการใช้ ปี 55 70 ผลรวมปี 54 < ปี 51 = 10% ผลรวมปี 54 > ปี 51 = 15% 15.00% ผลรวมปริมาณการใช้ (หน่วย) ร้อยละ ความต่าง ผลรวมปี 55 เทียบกับ ผลรวมปี 54 ปี 54 – ปี 55 X 100 13.04% ปี 54 ดูที่ Slide 10 เทียบบัญญัติไตรยางศ์ 1.40 % 0.00 >5.01 รวมคะแนน ระดับ 1-5 คะแนนเต็ม 2.500 2.27 * หมายถึง ส่วนราชการ /จังหวัด /สถาบันอุดมศึกษา

10 สำหรับการประเมินคะแนนในระดับที่ 4 ถึงระดับที่ 5
ตารางคำนวณสำเร็จรูปเทียบบัญญัติไตรยางศ์ สำหรับการประเมินคะแนนในระดับที่ 4 ถึงระดับที่ 5 ระดับ 3 4 5 3-5 ช่วง % 0.00 >5.01 10.00% % ที่ลดได้ 5.00 0.56 5.56% คะแนนเต็ม 0.500 1.500 คะแนนที่ได้ 0.056 1.056 ระดับ 3 4 5 3-5 ช่วง % 0.00 >5.01 15.00% % ที่ลดได้ 5.00 8.04 13.04% คะแนนเต็ม 0.500 1.500 คะแนนที่ได้ 0.400 1.400

11 ตัวอย่างที่ 1 การให้คะแนนด้านไฟฟ้า

12 ตัวอย่างที่ 2 การให้คะแนนด้านน้ำมัน

13 ตัวอย่างที่ 3 การรวมคะแนนที่ได้รับ

14 ขั้นตอนการรายงาน เข้าระบบ www.e-report.energy.go.th
พิมพ์รหัสสมาชิก (User)** รหัสผ่าน (Password)** Click “เข้าระบบ” Log in และ Password ระดับกรม  Click ดูรหัส ☎ ถาม สนพ. โทร ต่อ 364, 358 หน่วยงานย่อย ถาม หน่วยงานบังคับบัญชา ที่สูงขึ้นไป 1 ลำดับ

15 หน้ารายการหลัก แต่ละหน่วยงานบันทึกข้อมูลของหน่วยงานเอง
ระบบจะประมวลผลและสรุปรายงานให้อัตโนมัติ คะแนนระดับที่ 1 แต่งตั้งคณะทำงาน แผนปฏิบัติการ รายงานผล 2 ครั้ง คะแนนระดับที่ 2 ข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า และน้ำมันเชื้อเพลิง บันทึกรายปี 51, 54, 55 บันทึกรายเดือน เกี่ยวกับหน่วยงาน

16 ข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงาน
บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงาน * หมายถึงบังคับต้องบันทึก ชื่อหน่วยงาน ที่ตั้ง /โทร /โทรสาร 3. ชื่อผู้ประสานงาน ลำดับที่ 1 * จำเป็นต้องบันทึก ชื่อ /ตำแหน่ง ที่ตั้ง /โทร /โทรสาร /

17 คณะทำงานลดใช้พลังงาน
พิจารณาการแต่งตั้งคณะทำงานลดการใช้พลังงาน คะแนนเต็ม ด้านไฟฟ้า ด้านน้ำมัน พิมพ์ ชื่อ ตำแหน่ง โทรศัพท์ คณะทำงานเป็นรายบุคคลในกรอบ ช่องว่างที่ปรากฏ ทำซ้ำจาก (1) ถึง (3) จนครบรายชื่อคณะทำงานฯ ตามคำสั่งแต่งตั้ง

18 วันที่แต่งตั้งคณะทำงานฯ
พิจารณาวันที่ลงนามในคำสั่งแต่งตั้ง ให้อยู่ระหว่าง 21 มีนาคม 2555ถึง 30 มิถุนายน 2555 คะแนนเต็ม ด้านไฟฟ้า ด้านน้ำมัน พิมพ์ วัน/เดือน/ปี ที่ลงนามใน คำสั่งแต่งตั้ง Click เพื่อเลือก วัน/เดือน/ปี ตาม ปฏิทิน

19 แผนลดการใช้พลังงาน      พิจารณาแผนและมาตรการลดการใช้พลังงาน
คะแนนเต็ม ด้านไฟฟ้า ด้านน้ำมัน แผนปฏิบัติมาตรการประหยัดพลังงาน คัดลอก “Copy” วาง “Paste”

20 รายงานการติดตามผล   พิจารณาจำนวนครั้งที่รายงาน 2 ครั้ง
คะแนนเต็ม ด้านไฟฟ้า ด้านน้ำมัน พิมพ์เลขที่เอกสารที่ใช้อ้างอิงใน การรายงานติดตามมาตรการ ประหยัดพลังงานให้หัวหน้าส่วน ราชการทราบ เลือกเอกสารอ้างอิงอย่างหนึ่ง อย่างใดต่อไปนี้ รายงานการประชุม (ครั้งที่ xx/2555) บันทึกข้อความ (xx/yy)

21 ข้อมูลปริมาณใช้พลังงาน
พิจารณาความครบถ้วนข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าของปีงบประมาณ 2551, 2554 และ 2555 คะแนนเต็ม ด้านไฟฟ้า ด้านน้ำมัน ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า (kWh) เก็บจากใบเสร็จรับเงินค่า ไฟฟ้าที่การไฟฟ้าออกให้กับหน่วยงาน ข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง (ลิตร) เก็บจาก ใบเสร็จรับเงิน ที่ผู้จำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิง ออกให้กับ หน่วยงาน น้ำมันเชื้อเพลิง (ลิตร) ประเภท ดีเซล เบนซิน 91 และ เบนซิน 95 รวมในช่องเดียวกัน คือช่อง “น้ำมัน” ระบบจะนำข้อมูลที่หน่วยงานบันทึกไว้ มา แสดงผลโดยอัตโนมัติ

22 ดูการใช้พลังงานรายปี

23 เพิ่มเติมหน่วยงาน      
ข้อมูลที่มีอยู่เดิม ตามบัญชีรายชื่อ ของ สำนักงาน ก.พ.ร. แก้ไขข้อมูล เลื่อนลำดับที่ของหน่วยงานขึ้น ลง แก้ไข ข้อมูล ลบหน่วยงานนั้นออกจากภายใต้การบริหาร

24 เพิ่มเติมหน่วยงาน          
ข้อมูลที่มีอยู่เดิม ตามบัญชีรายชื่อ ของ สำนักงาน ก.พ.ร. แก้ไขข้อมูล เลื่อนลำดับที่ของ หน่วยงานขึ้น ลง แก้ไข ข้อมูล ลบหน่วยงานนั้นออก จากภายใต้การบริหาร เพิ่มหน่วยงาน เลือกจำนวนหน่วยงานที่ต้องการเพิ่ม พิมพ์ชื่อหน่วยงาน

25 วิธีการเรียกดูผลประเมิน

26 ส่วนราชการ/จังหวัด/สถาบันอุดมศึกษา
การแสดงผลข้อมูล ส่วนราชการ/จังหวัด/สถาบันอุดมศึกษา ชื่อ ส่วนราชการ/จังหวัด/สถาบันอุดมศึกษา หากชื่อเป็น อักษรสีแดง มีหน่วยงานใต้สังกัดที่ไม่ได้จัดตั้งขึ้นตามกฎกระทรวง คะแนนระดับที่ 1 และ 2 คะแนนเฉลี่ยความครบถ้วนของข้อมูลด้านไฟฟ้า (เต็ม ) คะแนนเฉลี่ยความครบถ้วนของข้อมูลด้านน้ำมัน (เต็ม 1.000) ร้อยละความสำเร็จที่ได้รับจากการประหยัดไฟฟ้า (เต็ม ) ร้อยละความสำเร็จที่ได้รับจากการประหยัดน้ำมัน (เต็ม ) สรุปผลการประเมินระดับความสำเร็จแสดงผลเป็นคะแนนที่ได้รับ (เต็ม 5.000)

27 ส่วนราชการ/จังหวัด/สถาบันอุดมศึกษา
แสดงผลละเอียด ส่วนราชการ/จังหวัด/สถาบันอุดมศึกษา

28 ส่วนราชการ/จังหวัด/สถาบันอุดมศึกษา
แสดงผลระดับหน่วยงาน ส่วนราชการ/จังหวัด/สถาบันอุดมศึกษา

29 แสดงผลละเอียด ระดับหน่วยงาน

30 เหตุที่สามารถขอเปลี่ยนแปลงฯ
ไม่มีข้อมูลการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน เชื้อเพลิง ปี 2554 จะขอยกเว้นการ ประเมินผล ต้องมีเหตุผล เช่น หน่วยงานตั้งขึ้นในช่วงปี หรือ 2555 หน่วยงานเพิ่งแยกหรือจัดเก็บ ปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน เชื้อเพลิงด้วยตนเองในช่วงปี หรือ 2555 เช่น แยกมิเตอร์ แยก สำนักงานจากหน่วยงานอื่น เป็นต้น มีเหตุสุดวิสัยข้อมูลการใช้ไฟฟ้า/ น้ำมัน ปี 2554 เอกสารชำรุด สูญ หาย เช่น ไฟไหม้ น้ำท่วม เป็นต้น ปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ปี เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี จะขอ ปรับเกณฑ์ ระดับที่ 5 จาก “ ร้อยละ 15 ขึ้นไป” เป็น “ ร้อยละ 10 ขึ้นไป” ปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ปี เพิ่มขึ้นจากปี 2554 เกินร้อยละ 15 ขึ้น ไป จะขอยกเว้นไม่นำปริมาณการใช้ ไฟฟ้า/น้ำมันที่เพิ่มขึ้น อันเป็นผลจาก ปัจจัยที่เกิดขึ้นใหม่ในปี 2555 มา คำนวณผลประหยัด

31 วิธีขอเปลี่ยนแปลงฯ หน่วยงานจะต้องส่งคำขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียด ตัวชี้วัดฯ ไปพร้อมกับรายงานการประเมินผล ตนเอง รอบ 12 เดือน ต้องชี้แจงเหตุผลความจำเป็นพร้อมรายละเอียดที่ ชัดเจน และเพียงพอต่อการพิจารณา การขอเปลี่ยนแปลงตามกรณีที่ 2 และ 3 ต้องระบุรายละเอียด และมีเอกสารประกอบเป็น ประมาณการเชิงตัวเลขของปริมาณการไฟฟ้า/ น้ำมันที่เพิ่มขึ้น เช่น เปลี่ยนแปลงโครงสร้างหรือภารกิจของ หน่วยงาน มีภารกิจเพิ่มขึ้น, ติดตั้งอุปกรณ์สำหรับดำเนิน ภารกิจเพิ่มเติม สร้างอาคารใหม่ เป็นต้น

32 ผลที่คาดว่าจะได้รับ ส่วนราชการกว่า 10,000 หน่วยงาน
หากได้ร่วมมือกันอย่างสมบูรณ์ ลดการใช้พลังงานได้ ตามเป้าหมาย 10% คาดว่าจะลดการใช้ไฟฟ้าลงได้ ล้านหน่วย คิด เป็นเงิน 950 ล้านบาท (ค่าไฟฟ้าหน่วยละ 3 บาท) ลด การปล่อย CO2 ได้ 184,000 ตัน (1 หน่วยไฟฟ้า = ตันคาร์บอนไดออกไซด์) ลดการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงลงได้ 19.1 ล้านลิตร คิด เป็นเงิน 669 ล้านบาท (ค่าน้ำมันหน่วยละ 35 บาท) ลดการปล่อย CO2 ได้ 43,000 ตัน (เบนซิน 1 ลิตร = ตันคาร์บอนไดออกไซด์) รวมลดปริมาณการใช้พลังงานลงคิดเป็นมูลค่า 1,619 ล้านบาท และลดการปล่อย CO2 227,000 ตัน

33 สัญญาณจากรัฐบาล

34  ปิดรับการรายงาน 30 พฤศจิกายน 2555 เวลา 24:00 น 
สนับสนุนโดย กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน


ดาวน์โหลด ppt มาตรการประหยัดพลังงาน ตามมติคณะรัฐมนตรี 20 มีนาคม 2555

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google