งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการใช้ข้อมูล บริการแพทย์แผนไทย สปสช. ปี 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการใช้ข้อมูล บริการแพทย์แผนไทย สปสช. ปี 2557"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการใช้ข้อมูล บริการแพทย์แผนไทย สปสช. ปี 2557
แนวทางการใช้ข้อมูล บริการแพทย์แผนไทย สปสช. ปี 2557 นงนุช แสนชัชวาล สปสช.เขต 1 เชียงใหม่

2 วัตถุประสงค์ในการใช้ข้อมูล
1. การกำกับติดตามผลการดำเนินงาน งานแพทย์แผนไทย จัดทำคำของบประมาณ 2. เป็นข้อมูลประกอบการจัดสรรงบประมาณตาม เกณฑ์ผลงาน ดังนี้ - นวดไทย(นวด ประคบ อบสมุนไพร) - บริการฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด - ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ

3 หน่วยบริการที่มีสิทธิได้รับงบเพิ่มเติม กรณีผลงานตามเกณฑ์
หน่วยบริการภาครัฐและเอกชนในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรณีจัดบริการแพทย์แผนไทย: ต้องผ่าน/ผ่านแบบมีเงื่อนไขตามเ กณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิตามข้อ ม.5.7,ม.5.8 (ภาคผนวก 6 และ 7) กรณีฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอด : ต้องผ่าน/ผ่านแบบมีเงื่อนไขตามเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ปฐมภูมิตามข้อ ม.5.7,ม.5.8 (ภาคผนวก 6 และ 7) ผ่านการพิจารณาการสมัครเข้าร่วมโครงการฯ กรณีมีการสั่งจ่ายยาสมุนไพรให้ถือว่ามีการจัดบริการแพทย์แผนไทย โดยผลการประเมินจะพิจารณาจากเครื่องมือ อุปกรณ์ตามรายการที่ประเมินตามภาคผนวก 6 ข้อ ก และ ข)

4 ระบบข้อมูลบริการแพทย์แผนไทย
นวด , อบ , ประคบ , แม่หลังคลอด (กรณี OP) (กรณี IP) การสั่งใช้ยาสมุนไพร /มูลค่ายาสมุนไพร บุคลากรแผนไทย (แพทย์แผนไทย,ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย) การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ (แผนไทย,แพทย์แผนไทยประยุกต์) แหล่งข้อมูล OP/PP Individual E-Claim Program TTM Data Center

5 ประมวลผลหลังจากสิ้นไตรมาสนั้นๆแล้ว 30 วัน
รอบการประมวลผลข้อมูลจาก 21 แฟ้ม สปสช.ส่วนกลางประมวลผลข้อมูลจาก OP/PP Individual data รายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่ 1 ใช้ข้อมูลการรับบริการวันที่ 1ตุลาคม – 31 ธันวาคม ไตรมาสที่ 2 ใช้ข้อมูลการรับบริการวันที่ 1มกราคม – 31 มีนาคม ไตรมาสที่ 3 ใช้ข้อมูลการรับบริการวันที่ 1เมษายน– 30 มิถุนายน ไตรมาสที่ 4 ใช้ข้อมูลการรับบริการวันีที่ 1กรกฎาคม –30 กันยายน การนำข้อมูลไปใช้ในการจัดสรรในแต่ละงวด เป็นไปตามแนวทางที่ สปสช.เขตกำหนด ในแต่ละเขตพื้นที่ซึ่งอาจจะใช้ข้อมูลในแต่ละช่วงไตรมาสแตกต่างกันไป ประมวลผลหลังจากสิ้นไตรมาสนั้นๆแล้ว 30 วัน

6 การสั่งจ่ายยาสมุนไพร (ED) ตัวอย่างรหัสหัตถการ 7 หลัก
1. OP/PP Individual Data การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP) (Add on) Drug PID SEQ Date_Serve Clinic Card base CID Service* CID PID SEQ Date_Serve Clinic Diag* PID SEQ Date_Serve Clinic ตัวอย่างรหัสยาสมุนไพร (24 หลัก) การสั่งจ่ายยาสมุนไพร (ED) (Add on) Proced PID SEQ Date_Serve Clinic ตัวอย่างรหัสหัตถการ 7 หลัก บริการนวด ประคบ อบ บริการฟื้นฟูสุขภาพมาดาหลังคลอด

7 ข้อกำหนดการบันทึกข้อมูลและสามารถทำการจ่ายได้
นวดไทย (นวด อบ ประคบ) ต้องมีการบันทึกข้อมูลหัตถการแพทย์แผนไทย(หัตถการ 7 หลัก) ต้องมีการบันทึกข้อมูลการวินิจฉัยโรค(รหัสโรคแผนปัจุบัน หรือรหัสโรคแผนไทย) ผู้รับบริการสามารถมารับบริการได้ไม่เกิน 1 ครั้ง/วัน การบันทึกข้อมูลภายในเวลาที่กำหนด (ภายใน 30 วันหลังจากสิ้นไตรมาสนั้นๆ) การ Diag. => ตามการวินิจฉัยของผู้ตรวจประเมินและสั่งการรักษา สามารถใช้ได้ ทั้ง WHO,TTM

8 ข้อกำหนดการบันทึกข้อมูลและสามารถทำการจ่ายได้
การให้บริการหญิงหลังคลอด 1. กรณีคลอดปกติ ให้บริการได้หลังจากวันที่คลอดแล้ว 7 วัน (กรณีต้องการให้บริการภายใน 7 วันแรกหลังคลอต้องได้รับความเห็นชอบจากบุคลากรผู้มีสิทธิ์ตรวจประเมินและสั่งการรักษา) 2. กรณีผ่าตัดคลอด ให้บริการได้หลังจากวันที่ผ่าตัดแล้ว 1 เดือน 3. ต้องบันทึกข้อมูล กิจกรรมหลักให้ครบทั้ง 5 กิจกรรม ( , , , , ) 5. แม่หลังคลอดจะต้องรับบริการทั้งหมดภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนหลังจาก วันที่ให้บริการครั้งแรก 6. แม่หลังคลอด สามารถมารับบริการได้ไม่เกิน 5 ครั้ง ต่อ 1 ครรภ์ 7. ต้องมีการบันทึกข้อมูลภายใน ภายใน 30 วันหลังจากสิ้นไตรมาสนั้นๆ การ Diag. => ตามการวินิจฉัยของแพทย์ สามารถใช้ได้ทั้ง WHO,TTM

9 ผู้ตรวจประเมินและสั่งการรักษาแพทย์แผนไทย

10 ข้อกำหนดการบันทึกข้อมูลและสามารถทำการจ่ายได้
ยาสมุนไพรไทย 1. มีรหัสยาสมุนไพร 24 หลักที่ถูกต้อง (DIDSTD) 2. เป็นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ (ED TYPE = 1) รหัสที่ 25 ที่มาของยา หมายเลข 1 = ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ

11 ช่องทางการดาวโหลดรหัสเกี่ยวกับแพทย์แผนไทย
รหัสหัตถการแพทย์แผนไทย 7 หลัก (บันทึกการรับบริการแพทย์แผนไทย) รหัสยาแผนไทย 24 หลัก / รหัสยาแผนไทย

12 Flow Diagram การตรวจสอบ นวด อบ ประคบ (1)
คำอธิบายเพิ่มเติม ข้อมูล OP Individual Records 1. นำข้อมูลจาก OP Individual Records มาทำการตรวจสอบเงื่อนไข 2. ตรวจสอบตามเงื่อนไข OP Individual Records ตรวจสอบตามเงื่อนไข OP Individual Records - ถ้าตรวจสอบตามเงื่อนไข OP individual Records ไม่ผ่าน จะทำการคัดข้อมูลออก ไม่ผ่าน คัดข้อมูลออก 3. ข้อมูลที่ที่ผ่านการตรวจสอบ มาตรวจสอบ วันที่รับบริการอยู่ในช่วงเวลาที่กำหนด (ดูข้อมูลจากฟิลด์ DATE_SERV จากแฟ้ม SERVICE) ผ่าน - ถ้าตรวจสอบวันที่รับบริการไม่ได้อยู่ ในช่วงที่กำหนด จะทำการคัดข้อมูลออก วันที่รับบริการ (อยู่ในช่วงเวลาที่กำหนด) ไม่ใช่ ใช่

13 Flow Diagram การตรวจสอบ นวด อบ ประคบ (2)
ใช่ คำอธิบายเพิ่มเติม รหัสหัตถการแพทย์แผนไทยจากแฟ้ม Procedure ไม่ใช่ คัดข้อมูลออก 4. ข้อมูลบริการนั้นต้องมีการลงรหัสหัตถการที่ เป็นรหัสแพทย์แผนไทย (โดยรหัสหัตถการ ดังกล่าวจะมีทั้งหมด 7 หลัก) ใช่ - ถ้าตรวจสอบรหัสแพทย์แผนไทยแล้วไม่ใช่ จะ ทำการคัดข้อมูลออก สิทธิ์ UC, WEL 5. เลือกข้อมูลเฉพาะสิทธิ UC, WEL ที่หาสิทธิได้ จากส่วนกลาง 6. เลือกข้อมูลเฉพาะที่มีฟิลด์ SERVICE_TYPE เป็น 1 และ 2 (หมายเหตุ ถ้าค่าว่างมาทางทีม ทำข้อมูลจะใส่ให้เป็น 1) ใช่ ไม่ใช่ สถานที่บริการ SERVICE_TYPE เป็น 1 หรือ 2 - ถ้าตรวจสอบข้อมูล SERVICE_TYPE ไม่ใช่ 1 หรือ 2 จะทำการคัดข้อมูลออก 7. นับจำนวนผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการ (ดูฟิลด์ DATE_SENT จากแฟ้ม service ใครส่งก่อน ได้ก่อน) แต่หากวันรับบริการและวันส่งข้อมูล เหมือนกันทุกอย่าง ให้ถือเป็นข้อมูล ERROR จะ ไม่ทำการนับ ใช่ 8. นับเฉพาะรหัสบัตรประชาชนที่ถูกต้อง (CID) นับจำนวนผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการ นับจำนวนครั้งที่เข้ามารับบริการโดย 1 วัน 1 คน 1 บริการ

14 Flow Diagram การตรวจสอบข้อมูลแม่หลังคลอด (1)
คำอธิบายเพิ่มเติม ข้อมูล OP Individual Records 1. นำข้อมูลจาก OP Individual Records มาทำการตรวจสอบเงื่อนไข 2. ตรวจสอบตามเงื่อนไข OP Individual Records ตรวจสอบตามเงื่อนไข OP Individual Records ไม่ผ่าน คัดข้อมูลออก - ถ้าตรวจสอบตามเงื่อนไข OP Individual Records ไม่ผ่าน จะทำ การคัดข้อมูลออก ผ่าน 3. ข้อมูลที่ที่ผ่านการตรวจสอบ มาตรวจสอบ วันที่รับบริการอยู่ในช่วงเวลาที่กำหนด (ดู ข้อมูลจากฟิลด์ DATE_SERV จากแฟ้ม SERVICE) วันที่รับบริการ อยู่ในช่วงเวลาที่กำหนด ไม่ใช่ - ถ้าตรวจสอบวันที่รับบริการแล้วไม่ได้อยู่ ในช่วงเวลาที่กกหนด จะทำการคัด ข้อมูลออก ใช่

15 Flow Diagram การตรวจสอบข้อมูลแม่หลังคลอด (2)
ใช่ รหัสหัตถการแพทย์แผนไทยจากแฟ้ม Procedure คำอธิบายเพิ่มเติม คัดข้อมูลออก ไม่ใช่ 4. ข้อมูลบริการนั้นต้องมีการลงรหัสหัตถการที่เป็น รหัสแพทย์แผนไทย (โดยรหัสหัตถการ ดังกล่าวจะมีทั้งหมด 7 หลัก) - ถ้าตรวจสอบรหัสแพทย์แผนไทยแล้วไม่ใช่ จะ ทำการคัดข้อมูลออก ใช่ สิทธิ์ UC, WEL 5. เลือกข้อมูลเฉพาะสิทธิ UC, WEL ที่หาสิทธิได้จาก ส่วนกลาง ไม่ใช่ - ถ้าตรวจสอบสิทธิแล้วไม่ใช่ จะทำการคัด ข้อมูลออก 6. เลือกข้อมูลที่มีรหัสหัตถการ 5 รหัส คือ ( , , , , ) มาพร้อมกันในการบริการครั้งเดียว ใช่ ไม่ใช่ มีรหัสหัตถการ , , , , มาพร้อมกัน 7. ตรวจสอบ CID ที่มารับรักษาต้องไม่เกิน 5 ครั้ง CID ที่มารับรักษาไม่เกิน 5 ครั้ง - ถ้าตรวจสอบ CID ที่มารับการรักษาถ้า เกิน 5 ครั้ง จะทำการคัดข้อมูลออก ใช่ 8. นับจำนวนผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการ (ดูฟิลด์ DATE_SENT จากแฟ้ม Service ใครส่งก่อน ได้ก่อน) แต่หากวันรับบริการและวันส่งข้อมูล เหมือนกันทุกอย่าง ให้ถือเป็นข้อมูล ERROR จะไม่ทำการนับ ใช่ นับจำนวนผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการ นับจำนวนครั้งที่เข้ามารับบริการโดย 1 วัน 1 คน 1 บริการ 9.นับเฉพาะรหัสบัตรประชาชนที่ถูกต้อง (CID)

16 Flow Diagram การตรวจสอบข้อมูลยาสมุนไพร (1)
คำอธิบายเพิ่มเติม 1. นำข้อมูลจาก OP Individual Records มาทำการตรวจสอบเงื่อนไข ข้อมูล OP Individual Records 2. ตรวจสอบตามเงื่อนไข OP Individual Records - ถ้าตรวจสอบตามเงื่อนไข OP Individual Records ไม่ผ่านจะทำ การคัดข้อมูลออก ตรวจสอบตามเงื่อนไข OP Individual Records ไม่ผ่าน คัดข้อมูลออก ผ่าน 3. ข้อมูลที่ที่ผ่านการตรวจสอบ มา ตรวจสอบ วันที่รับบริการโดยอยู่ในช่วงเวลาที่กำหนด (ดูข้อมูลจากฟิลด์ DATE_SERV จากแฟ้ม SERVICE) - ถ้าตรวจสอบวันที่รับบริการแล้วไม่ได้อยู๋ ในช่วงเวลาที่กำหนดจะทำการคัดข้อมูล ออก วันที่รับบริการ อยู่ในช่วงเวลาที่กำหนด ไม่ใช่ ใช่

17 Flow Diagram การตรวจสอบข้อมูลยาสมุนไพร
ใช่ สิทธิ์ UC, WEL คำอธิบายเพิ่มเติม ไม่ใช่ คัดข้อมูลออก 4. เลือกข้อมูลเฉพาะสิทธิ UC, WEL ที่หาสิทธิ ได้จากส่วนกลาง - ถ้าตรวจสอบสิทธิแล้วไม่ใช่ จะทำการคัด ข้อมูลออก ใช่ 5. เลือกข้อมูลเฉพาะที่มีการส่งข้อมูลตามรหัส ยาสมุนไพร 24 หลักที่ถูกต้องเข้ามา ข้อมูล ยาสมุนไพรจะแยกเป็น ยาสมุนไพรที่มีใบ ยาบัญชีหลักแห่งชาติ และที่ไม่ได้อยู่ในยา บัญชีหลักแห่งชาติ (ดูได้จากตารางยา COLUMN รหัสที่มาของยา) ข้อมูลที่มีรหัสยาสมุนไพร จากแฟ้ม Drug ไม่ใช่ - ถ้าตรวจสอบแล้วไม่มีรหัสยาสมุนไพร จะทำ การคัดข้อมูลออก 6. นับจำนวนผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการ (ดูฟิลด์ DATE_SENT จากแฟ้ม Service ใครส่ง ก่อนได้ก่อน) แต่หากวันรับบริการและวันส่ง ข้อมูลเหมือนกันทุกอย่าง ให้ถือเป็นข้อมูล ERROR จะไม่ทำการนับ ใช่ 7.นับเฉพาะรหัสบัตรประชาชนที่ถูกต้อง (CID) นับจำนวนผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการ นับจำนวนครั้งที่เข้ามารับบริการโดย 1 วัน 1 คน 1 บริการ

18 การลงทะเบียนผู้ให้บริการ ในโปรแกรมแพทย์แผนไทย

19 ช่องทางการเข้าใช้งานระบบฯ
เข้าเว็บไซต์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ( สปสช. ) URL : » : บริการออนไลน์ » : หัวข้อ งานชดเชย » : 2. บันทึกการรับบริการ แพทย์แผนไทย

20 ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ผู้ให้บริการ
1. เมนู ลงทะเบียนผู้ให้บริการ

21 1.1 บันทึกข้อมูล ลงทะเบียนผู้ให้บริการ (เพิ่มข้อมูล)

22 1.2 ค้นหาข้อมูล ผู้ให้บริการ (แก้ไขข้อมูล) หรือ ดูข้อมูลเพื่อการตรวจสอบ)

23 ** หมายเหตุ ** กรณี มีข้อมูลของผู้ให้บริการอยู่แล้วเมื่อบันทึกข้อมูลในสังกัด หน่วยงานใหม่ ให้ทำการลาออกจาก หน่วยงานเดิมก่อน จึงจะสามารถบันทึกข้อมูลได้

24 เมนู รายงานผลงาน

25 2. เมนู รายงานผลงาน

26 2.1 รายงานการบริการนวดไทย (นวด ประคบ อบสมุนไพร)
ค้นหาตามเงื่อนไข สามารถดูได้ตามระดับการใช้งาน

27 แสดงข้อมูล ระดับเขต

28 ข้อสังเกต/ผลจากการ Audit : ข้อมูลบริการแผนไทย ปี 2555

29 ข้อสังเกต/ผลจากการ Audit ข้อมูลปีที่ผ่านมา
1. ผู้รับบริการที่มารับบริการนวดไทย (นวด ประคบ อบสมุนไพร) มารับบริการครบทุกกิจกรรม และมารับบริการต่อเนื่อง ตัวอย่าง หน่วยบริการ 1 แห่งผู้รับบริการทุกคนได้รับครบทุกกิจกรรม ผู้รับบริการ 1 คนมารับบริการต่อเนื่องกันภายใน 1 เดือน (CPG < 12 ครั้ง/เดือน )

30 ข้อสังเกต/ผลจากการ Audit ข้อมูลปีที่ผ่านมา
2. ผู้รับบริการที่มารับบริการนวดไทย 2 เดือนติดต่อกันทุกวัน เป็นเวลา 2 เดือน 14138 สุทน ชอบดอน 14138 สุทน ชอบดอน

31 ข้อสังเกต/ผลจากการ Audit ข้อมูลปีที่ผ่านมา
3. ผู้รับบริการที่มารับบริการนวดไทยในวันเดียวกันมากกว่า 1 แห่ง HCODE PID ชื่อ นามสกุล วันที่รับบริการ วันที่ส่งข้อมูล 11447 หนูรัก โสประดิษฐ 04713 HCODE PID ชื่อ นามสกุล วันที่รับบริการ วันที่ส่งข้อมูล 10735 พรม สมุทรสกุลเจริญ 15250 วันรับบริการและวันส่งข้อมูลเป็นวันเดียวกัน วันที่รับบริการเหมือนกันแต่วันส่งข้อมูลไม่เหมือนกัน

32 ข้อสังเกต/ผลจากการ Audit ข้อมูลปีที่ผ่านมา
4. ผู้รับบริการที่มารับบริการฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด มีชื่อรับบริการ 2 แห่งภายใน 1 วัน

33 ข้อสังเกต/ผลจากการ Audit : ข้อมูลบริการแผนไทย ปี 2556

34 บันทึกข้อมูลในเวชระเบียนไม่ครบถ้วน /ถูกต้อง
บันทึกข้อมูลในเวชระเบียนไม่ครบถ้วน /ถูกต้อง ข้อมูลการวัด vital signs ก่อนการให้บริการ การประเมินร่างกาย ก่อนและภายหลังการรักษา ไม่ได้ลงวันที่ในการให้บริการ ไม่ได้ระบุเวลาในการทำหัตถการ รหัสประจำตัวไม่ถูกต้อง ให้บริการ ไม่มีการบันทึกใน OPD card

35 รหัสโรคไม่ตรงกับการวินิจฉัยที่บันทึกในเวชระเบียน
มีอาการปวดหลัง ลง Diag. ปวดขา การซักประวัติการรักษาไม่ละเอียด วินิจฉัยโรค และหัตถการไม่ถูกต้อง พบว่าบางรายมีการสั่งการรักษาด้วยการประคบเพียงอย่างเดียวแต่การลงข้อมูลว่ามีการนวดเพื่อการรักษาด้วย

36 ผู้ให้บริการ ไม่มีใบประกอบโรคศิลปะของแพทย์แผนไทย
ไม่มีการระบุชื่อผู้ให้บริการและไม่มีการลงลายมือชื่อทั้งผู้ตรวจและผู้ให้บริการ มีลายเซ็นของผู้ตรวจ และหมอนวด ในแต่ละแผ่นไม่ ครบ รวมทั้งไม่ทราบว่าเป็นลายเซ็นของใคร 4. หมอนวดไม่ผ่านการอบรมหลักผู้ช่วยแพทย์แผนไทยหลักสูตร 330 ชม. /บางราย 160 ชม.

37 ปัญหาที่พบในการตรวจสอบการให้บริการ แม่หลังคลอด
การซักประวัติหญิงหลังคลอดไม่ครบถ้วน เช่น ประวัติการคลอด ลักษณะของน้ำนม/เต้านม อาการปวดหน้าท้องหรือปวดตามกล้ามเนื้อ ลักษณะของน้ำคาวปลา โรคประจำตัว เป็นต้น ไม่มีการตรวจประเมินร่างกายก่อนการให้บริการ ถ้ามีควรระบุลงใน OPD CARD 3. ไม่มีการระบุเวลาในการให้บริการในแต่ละกิจกรรม จำนวนครั้งที่ให้บริการและวันที่ไม่ตรงกัน ไม่ได้ระบุวันที่คลอดหรือผ่าตัดคลอด Z392 ดูแลหลังคลอด (ICD 11) U 509 หลังคลอดผิดปกติ

38 การตรวจสอบรายงานการจ่ายเงินกองทุน
1

39 การตรวจสอบรายงานการจ่ายเงินกองทุน
2

40 การตรวจสอบรายงานการจ่ายเงินกองทุน
3

41 การตรวจสอบรายงานการจ่ายเงินกองทุน
4

42 การตรวจสอบรายงานการจ่ายเงินกองทุน
5 Download ตารางการจัดสรรเงิน

43 ตัวชี้วัดการดำเนินงานแพทย์แผนไทยระดับเขต ปี 2557
2556 เป้าหมาย 2557 1.จำนวนหน่วยบริการที่เป็นศูนย์บริการด้านการแพทย์แผนไทยและมีแพทย์แผนไทยประจำมีการ certify ระดับหน่วยบริการประจำ (จำนวน 118 CUP) 56 แห่ง 67 แห่ง (เพิ่ม 11แห่ง) 2.ร้อยละของประชาชนได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละ 40.84 เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ของผลงานปีที่ผ่านมา 3.ร้อยละของ รพ.สต. ที่มีบริการแพทย์แผนไทยพื้นฐาน เน้นการใช้ยาพื้นฐาน 5 รายการ (ระดับประเทศ ร้อยละ 70) ร้อยละ 37.14 ร้อยละ 50 4. ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยที่ได้มาตรฐาน NA ร้อยละ 8 รพ.สต. ที่มีบริการแพทย์แผนไทยพื้นฐาน หมายถึง รพ.สต.ที่ได้ขึ้นทะเบียนที่ Data Center ในหมวด ก และ ข ของภาคผนวก 6, 7 ตามแบบประเมินหน่วยบริการปฐมภูมิ

44 E-mail : nongnuch.s@nhso.go.th
ขอบคุณค่ะ นงนุช แสนชัชวาล สปสช.เขต 1 เชียงใหม่ มือถือ


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการใช้ข้อมูล บริการแพทย์แผนไทย สปสช. ปี 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google