งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

น.ส.เสริมสุข ธรรมกิจไพโรจน์ ผอ.กลุ่มสารสนเทศ สนผ. สพฐ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "น.ส.เสริมสุข ธรรมกิจไพโรจน์ ผอ.กลุ่มสารสนเทศ สนผ. สพฐ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 น.ส.เสริมสุข ธรรมกิจไพโรจน์ ผอ.กลุ่มสารสนเทศ สนผ. สพฐ.
ระบบฐานข้อมูลของสพฐ. น.ส.เสริมสุข ธรรมกิจไพโรจน์ ผอ.กลุ่มสารสนเทศ สนผ. สพฐ.

2 ระบบฐานข้อมูลของ สพฐ. ฐานข้อมูลครู-บุคลากรรายบุคคล
Data Management Center (DMC) B_OBEC ฐานข้อมูลสิ่งก่อสร้าง M_OBEC ฐานข้อมูลครุภัณฑ์ EFA EMIS ฐานข้อมูลครู-บุคลากรรายบุคคล ฐานข้อมูลผู้จบการศึกษา Online

3 จัดสรร งบประมาณ ฐานข้อมูลผู้จบ กศ. ตัวชี้วัด กพร. ตัวชี้วัด EFA DMC
EMIS Data Warehouse น.ร.รายบุคคล EFA ครู-บุคลากร M_OBEC GIS B_OBEC School Mapping สิ่งก่อสร้าง

4 DMC การจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน 1) 10 มิ.ย.2557 2) 10 พ.ย.2557
1) 10 มิ.ย.2557 2) 10 พ.ย.2557 3) สิ้นปีการศึกษา การตรวจสอบยืนยันข้อมูล

5

6

7 การจัดทำข้อมูลทุกเขต ยังคงใช้โปรแกรม DMC ยกเว้น จ
เมื่อบันทึกข้อมูลใน DMC จะส่งไปยัง EMIS, ฐานข้อมูลผู้จบ, Data warehouse, obecxx เพื่อประมวลผลไปจัดสรรเงินอุดหนุนรายหัว, เงินปัจจัยพื้นฐาน, เด็กพักนอน, ร.ร.ในโครงการพระราชดำริ, ร.ร.พื้นที่สูงและชายขอบ, โครงการอาหารกลางวัน เด็กทุพโภชนาการ, ตัวชี้วัด กพร.(เด็กออกกลางคัน, การจบการศึกษาของเด็กก่อนประถม, ประถม, ม.ต้น, ม.ปลาย, อัตราการเข้าเรียน ฯลฯ)

8 ก่อนเปิดภาคเรียน ร.ร.ที่มีชื่อในฐานจะต้องมีที่อยู่ หมู่บ้าน, ตำบล, ตำแหน่งที่ตั้งของโรงเรียนและชื่อภาษาอังกฤษ ทุกโรงเรียน สามารถแยกในเขต,นอกเขต กรณีที่ยากจน ให้ใส่รายได้ผู้ปกครองด้วย ร.ร.ที่ย้าย/ถ่ายโอนมา จะต้องแจ้งให้ทราบก่อนวันที่มีการยืนยันข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล ร.ร.ให้เป็นปัจจุบัน ข้อมูลทั่วไป ให้ สพท.ช่วยดูภาพรวมของทั้งเขตว่ายอดเป็นไปได้หรือเปล่า เช่น ร.ร.ที่ไม่มีไฟฟ้า, ไม่มี internet, ไม่มีน.ร. ภายในเขต

9 การใช้ประโยชน์ นำข้อมูลคุณภาพ O-net, Nt เสนอข้อมูลผ่านระบบ Gis
เทียบข้อมูล ๑๐ ปีเป็นรายโรง, อำเภอ, เขต, ภาค, ประเทศ ส่งข้อมูลตัวชี้วัดด้านการศึกษา EFA ให้ ศธ., สกศ. คำนวณทุพโภชนาการของนักเรียนให้ทาง สกก. ส่งข้อมูลตัวชี้วัดให้ทาง กพร. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน School Mapping

10 การจัดสรรงบประมาณ เงินอุดหนุนรายหัว เงินปัจจัยพื้นฐาน
โครงการอาหารกลางวัน พื้นที่ราบสูง, ชายแดน, พักนอน โครงการพระราชดำริ

11 ตัวชี้วัด กพร.ปีงบประมาณ 2557
ข้อมูลปลายปีการศึกษา 2556 ส่งภายในวันที่ 30 เม.ย.2557 อัตราการซ้ำชั้นระดับก่อนประถม, ประถม, ม.ต้น, ม.ปลาย อัตราการออกกลางคันระดับก่อนประถม, ประถม, ม.ต้น, ม.ปลาย อัตราการจบการศึกษาระดับก่อนประถม,ป.6, ม.3, ม.6

12 ตารางตรวจพินิจจำนวนนักเรียน ปีการศึกษา 2555

13 ตารางตรวจพินิจจำนวนนักเรียน ทั้งประเทศ

14 ตารางตรวจพินิจจำนวนนักเรียน รายจังหวัด

15 ตารางตรวจพินิจจำนวนนักเรียน รายเขตพื้นที่

16 ตารางตรวจพินิจจำนวนนักเรียน รายอำเภอ

17 ตารางตรวจพินิจจำนวนนักเรียน รายโรงเรียน

18 ตารางข้อมูลและตัวชี้วัด จำแนกรายโรงเรียน

19 ตารางข้อมูลและตัวชี้วัด จำแนกรายโรงเรียน (ต่อ)

20 จำนวนประชากร, น. ร. ,ออกกลางคัน,ซ้ำชั้น, ครูสังกัดสพฐ
จำนวนประชากร, น.ร.,ออกกลางคัน,ซ้ำชั้น, ครูสังกัดสพฐ.จำแนกตามเพศและใน/นอกเขต

21 จำนวนประชากร, น. ร. ,ออกกลางคัน,ซ้ำชั้น, ครูสังกัดสพฐ. จำแนกตามเพศ, จ
จำนวนประชากร, น.ร.,ออกกลางคัน,ซ้ำชั้น, ครูสังกัดสพฐ.จำแนกตามเพศ, จ.และใน/นอกเขต

22 ตัวชี้วัด อัตราร้อยละการจบการศึกษาและการเรียนต่อ ม. 1 และ ม
ตัวชี้วัด อัตราร้อยละการจบการศึกษาและการเรียนต่อ ม.1 และ ม.4 สังกัด สพฐ.

23 ตัวชี้วัด อัตราร้อยละการจบการศึกษาและการเรียนต่อ ม. 1 และ ม
ตัวชี้วัด อัตราร้อยละการจบการศึกษาและการเรียนต่อ ม.1 และ ม.4 รายจังหวัด

24 ตัวชี้วัด อัตราร้อยละการจบการศึกษาและการเรียนต่อ ม.1 และ ม.4 รายอำเภอ

25 การวิเคราะห์การสะพัดของนักเรียน สังกัด สพฐ. (Cohort Analysis)

26 อัตราการเหลือรอด และอัตราการเลื่อนชั้น ปีการศึกษา 2547-2555 สังกัด สพฐ.

27 อัตราการเหลือรอด และอัตราการเลื่อนชั้น ปีการศึกษา 2547-2555 รายจังหวัด

28 อัตราการเหลือรอด และอัตราการเลื่อนชั้น ปีการศึกษา 2547-2555 รายอำเภอ

29 อัตราการคงอยู่ ระดับประถมศึกษา ปีการศึกษา 2547-2555 ใน/นอกเขต สังกัด สพฐ

30 อัตราการคงอยู่ ระดับม. ต้น, ม
อัตราการคงอยู่ ระดับม.ต้น, ม.ปลาย ปีการศึกษา ใน/นอกเขต สังกัด สพฐ

31 ตัวอย่าง การนำเสนอข้อมูล O-Net รายกลุ่มสาระ ผ่านระบบ Gis จำแนกรายโรงเรียน

32 ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลใน Data Warehouse

33

34

35

36 เป็นเทคนิคและกระบวนการที่ใช้ในการกำหนด
School Mapping เป็นเทคนิคและกระบวนการที่ใช้ในการกำหนด ความต้องการทางการศึกษาในอนาคตในระดับ ท้องถิ่น และวางแผนเพื่อกำหนดมาตรการที่จะ ทำให้บรรลุตามความประสงค์นั้น

37 กระบวนการในการทำ School Mapping
วิเคราะห์สถานการณ์ในปีฐาน (base year) ความครอบคลุม ประสิทธิภาพ คุณภาพ คาดคะเน ( Projection ) เตรียมข้อเสนอ ( Proposal )

38

39

40

41

42

43

44

45

46

47 สวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt น.ส.เสริมสุข ธรรมกิจไพโรจน์ ผอ.กลุ่มสารสนเทศ สนผ. สพฐ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google