งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คุณค่าของนักวิเคราะห์ใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คุณค่าของนักวิเคราะห์ใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คุณค่าของนักวิเคราะห์ใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
Ravi Lonkani, Chiang Mai University Anya Khanthavit, Thammasat Uninversity Pornchai Chunahachinda, Thammasat Uninversity Salt Lake City: Friday 13th October, 2006

2 กิตติกรรมประกาศ Thailand Research Fund.
Sungvien Indaravichai foundation. Gady Jacoby Manitoaba University The Stock Exchange of Thailand The Security Analyst Association มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ,

3 แนวการนำเสนอ Rationale & Objective Literature Review Data
Methodology & Results Conclusion Discussion

4 มูลเหตุของการทำวิจัย
ความสำคัญของ คำแนะนำ หลักทรัพย์ เป็นข้อมูลที่สรุปได้ดีที่สุดแล้ว เป็นข้อมูลที่มีการทำการบ้านมาเป็นอย่างดีโดยนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ งานวิจัยในต่างประเทศล้วนแต่กล่าวว่าข้อมูล คำแนะนำการวิเคราะห์หลักทรัพย์นี้ เป็นข้อมูลที่มีผลต่อตลาดทุน ในประเทศไทย ยังไม่มีการวิจัย ในประเด็นนี้ ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงได้นำเสนอการวิจัยในหัวข้อ ‘The Value of Analysts’ Recommendations ครั้งนี้

5 วัตถุประสงค์: 1. ศึกษาเหตุการณ์
ทดสอบว่าข้อมูลคำแนะนำหลักทรัพย์นั้นมีคุณค่าต่อนักลงทุนหรือไม่ ทดสอบว่าข้อมูลคำแนะนำหลักทรัพย์นั้นมีผลต่อตลาดทุนหรือไม่

6 งานวิจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง
Analyst Coverage and recommendations Womack(1996), Khantavit(1999), Barber et al.(2001), Desai et al.(2000), Jegadeesh et al. (2003) Irvine(2003), Chan(2004) Portfolio test on the value of recommendation Barber et al.(2001), Jegadeesh and Kim (2003) Analysts’ biases and characteristic Michaely and Womack(1999), Kubik(2003), Cowen, Groysberg and Healy (2003) Sorescu and Subrahyanam(2004) Rajan and Servaes(1997) Lai and Teo (2006), Chang and Seasholes(2003)

7 ความน่าสนใจของตลาดหลักทรัพย์ในประเทศไทย
ความหลากหลายของนักลงทุน (Heterogeneity of participants) Heterogeneity of investors: significant individual investors relative to institution investors Heterogeneity of analysts- foreign, local, institution ข้อจำกัดการลงทุน (Constraint of trading activity) short sell is limited ‘high degree of asymmetric information among participants ’ (Kim et al. (2004)), ‘high involvement of family owners’ (Wiwattanakantang (2000)).

8 สมมติฐานการทดสอบ H1: ตลาดที่มีลักษณะของนักลงทุนรายย่อยอยู่มากนี้ ผลตอบแทนผิดปกติวันแรกของการลงทุนจะมีนัยสำคัญในวันที่เผยแพร่ข้อมูลคำแนะนำการวิเคราะห์หลักทรัพย์และหลังจากวันที่ได้มีการเผยแพร่ไปแล้วคำแนะนำดังกล่าวยังคงมีผลอยู่ต่อเนื่อง-herding. H2: ผลตอบแทนผิดปกติจะเกิดขึ้นก่อนวันที่ประกาศอย่างเป็นทางการถ้าหากการเปิดเผยข้อมูลคำแนะนำนั้นมีการรับรู้ก่อน H3: ข้อจำกัดในเรื่องของ Short sale เป็นสาเหตุที่ทำให้ผลของคำแนะนำแต่ละประเภทมีคุณค่าได้ไม่เท่ากัน

9 ข้อมูลและที่มาของข้อมูล
Recommendation data are from I/B/E/S Strong buy, buy, hold, underperform, sell All relevant data are from DATASTREAM Recommendation period: 1993 to 2002 11,461 recommendations which cover 269 firms. (Table 1)

10 ข้อมูล

11 ข้อมูลคำแนะนำจำแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรม

12 คำแนะนำหลักทรัพย์ ภาพรวม

13 ผลตอบแทนผิดปกติจากการเปลี่ยนประเภทคำแนะนำ
ดูตารางที่ 7 ประกอบ

14 วิธีการวิเคราะห์ Computed a consensus scores
Form portfolios according to the consensus scores Observe return structure from each portfolio or transition of consensus score (see. Table 5, Table 6) (follow Barber et.al (2001)

15 โครงสร้างการเปลี่ยนแปลงคำแนะนำ

16 การทดสอบ: การศึกษาเหตุการณ์ และ ผลตอบแทนจากการลงทุน
การทดสอบ: การศึกษาเหตุการณ์ และ ผลตอบแทนจากการลงทุน Event Study Approach Abnormal Returns Market-adjusted Market and Risk Adjusted Investment Approach Fama-French Model CAPM

17 ผลการทดสอบส่วน 1: การศึกษาเหตุการณ์
Market-Adjusted Return Market and Risk Adjustd Return

18 ก่อนเหตุการณ์ Market adjusted returns Market and Risk Adjustd Return

19 หลังเหตุการณ์ Market adjusted returns Market and Risk Adjustd Return

20 สรุปผลการทดสอบเหตุการณ์

21 แสดงผลตอบแทนสะสมเป็นรูปกราฟ

22 ผลการทดสอบที่สำคัญของส่วนที่ 1
ตลาดมีการตอบสนองที่สอดคล้องกับคำแนะนำ เช่นถ้ามีการปรับคำแนะนำขึ้น ตลาดตอบสนองทางบวก (ตาราง 7) คำแนะนำที่มีผลต่อตลาดมากที่สุดและเห็นเด่นชัดที่สุดคือ ‘strong buy’ ซึ่งมีนัยสำคัญทุกตาราง(ตาราง 8, 9) ผลตอบแทนผิดปกติมีทั้งก่อนและหลังการเผยแพร่ของคำแนะนำ สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ .

23 ผลตอบแทนการลงทุน: เป็นการทดสอบโดยจัดกลุ่มหลักทรัพย์ (Portfolio) ตามคำแนะนำของนักวิเคราะห์ วัดผลตอบแทนของรายวัน ปรับ Portทุกวัน เปรียบเทียบกับผลตอบแทนตามทฤษฎี CAPM, FF

24 ผลการทดสอบผลตอบแทน Portfolio จัดตามคำแนะนำ

25 ผลการทดสอบผลตอบแทน Portfolio จัดตามคำแนะนำ

26 ผลทดสอบมูลค่าการซื้อขาย

27 สรุปผลจากงานวิจัยนี้
เห็นได้ชัดว่า คำแนะนำที่เป็น ‘strong buy’ recommendations เป็นคำแนะนำที่ทำให้ผู้ลงทุนได้ผลตอบแทนเกินปกติ ตอบได้เลยว่า ใช่แล้ว! คำแนะนำที่นักวิเคราะห์วิเคราะห์และเผยแพร่ให้กับนักลงทุนนั้นมี ‘คุณค่า’ ต่อตลาด มีการรับรู้ข้อมูลก่อนเผยแพร่ คุณค่าของคำแนะนำในการวิเคราะห์จะไม่ค่อยเห็นได้ชัดในกรณีคำแนะนำที่มีทิศทางลบ เพราะ----

28 สรุปผลจากงานวิจัยนี้
หลังจากที่ได้เผยแพร่คำแนะนำออกไปแล้วยังคงพบว่าผลตอบแทนนั้นมีการปรับตัวที่มีนัยสำคัญอยู่ด้วย แต่ข้อสรุปในจุดนี้ยังไม่ชัดเจนว่าจะเป็นการ herding หรือไม่เนื่องจากค่ามัธยฐานไม่สอดคล้องกับค่าเฉลี่ย

29 เอางานวิจัยนี้ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร
เราเดินมาถูกในเรื่องนโยบายการพัฒนานักวิเคราะห์ด้วยการสร้างคุณภาพให้กับนักวิเคราะห์ นักวิเคราะห์ต้องระวังมากขึ้นในการเขียนบทวิเคราะห์เพราะถือเป็นข้อมูลสำคัญต่อตลาด นักลงทุนควรให้ความสำคัญกับบทวิเคราะห์หลักทรัพย์มากขึ้นเพราะเป็นข้อมูลที่พิสูจน์แล้วว่ามี ‘คุณค่า’ คำแนะนำการวิเคราะห์หลักทรัพย์ที่มีคุณค่า มากสุด คือ Strong Buy

30 ข้อจำกัด ด้วยข้อจำกัดของข้อมูล นักวิเคราะห์ในฐานข้อมูลนี้ส่วนใหญ่เป็นนักวิเคราะห์ต่างประเทศ มีนักวิเคราะห์ส่วนน้อยที่มาจากบริษัทหลักทรัพย์ไทย อย่าลืมว่า ค่าที่เห็นนั้นเป็นค่าเฉลี่ย ดังนั้น อาจ มีบางบริษัทหลักทรัพย์ที่ไม่เคยวิเคราะห์ได้ถูกต้องเลยก็ได้

31 ขอบคุณครับ Q & A


ดาวน์โหลด ppt คุณค่าของนักวิเคราะห์ใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google