ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
(District Health System)
การปฏิรูประบบสุขภาพ ระดับอำเภอ (District Health System)
2
วิวัฒนาการของการจัดการสุขภาพชุมชนในประเทศไทย
3
เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS)
ภาคีต่างๆในเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รพ.ชุมชน - สสอ.-รพ.สต.-อปท.- ชุมชน ต้องมี เอกภาพ ร่วมคิด/ร่วมทำ/ร่วมเรียนรู้/ร่วมสร้างนวัตกรรม รัฐดูแลสุขภาพ ตามความจำเป็น (Essential Care) ชุมชนบริหารจัดการสุขภาพด้วยตนเอง (Self-admin)
4
องค์ประกอบพื้นฐานและการพัฒนาที่ต้องบูรณาการ
5
การบูรณาการ เป็น นวัตกรรมรูปแบบการจัดการสาธารณสุข ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดหลังจาก การสร้าง อสม.
6
เงื่อนไข การบูรณาการสามารถทำได้โดยผู้ปฏิบัติ ในระดับพื้นที่ผู้ผ่านการอบรมหรือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เทคนิค จังหวัดต้องมีค่ากลางที่คาดหวังให้พื้นที่ ใช้เป็นปัจจัยนำเข้า ต้องปรับระบบสนับสนุนให้สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในพื้นที่
7
ต้องปรับภาพนี้ให้เหมาะกับกลุ่มวัยที่กำหนดก่อนนำไปใช้
รูปแบบการบูรณาการประเด็นต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพของกลุ่มวัย โปรดทราบ! ต้องปรับภาพนี้ให้เหมาะกับกลุ่มวัยที่กำหนดก่อนนำไปใช้
8
บูรณาการงานในกิจกรรม 2-5 เข้าสู่กิจกรรมสำคัญ
กระบวนการสร้างโครงการแบบบูรณาการ บูรณาการงานในกิจกรรม 2-5 เข้าสู่กิจกรรมสำคัญ จัดลำดับความสำคัญของ กิจกรรม SRM วิเคราะห์กิจกรรมสำคัญ ของประเด็นทั้ง 4 วิเคราะห์กิจกรรมสำคัญ ของประเด็นทั้ง 3
9
บูรณาการการจัดการสภาวะแวดล้อมทุกโครงการและเปิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
โครงการกลุ่มวัยต่างๆ สนับสนุนโครงการ ประเมินผล และป้อนกลับ สนับสนุนวิชาการ ระบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
11
พื้นที่ใช้เงินที่ประหยัดได้เปิดโครงการที่ 3
“โครงการส่งเสริมนวัตกรรมสังคม” เพื่อพัฒนาสมรรถนะเชิงการบริหาร จัดการตนเองของประชาชน และ สร้างความเชื่อมโยงกับระบบ การพัฒนาเศรษฐกิจของตำบล
12
การเปลี่ยนผ่านระบบจัดการสุขภาพ
จากภาครัฐสู่ภาคประชาชน ภาครัฐ Innovate & Create ภาคประชาชน Command & Control
13
การบูรณาการทำให้เหลือโครงการ
ในระดับพื้นที่เพียง 3 โครงการ คือ โครงการจัดการสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย โครงการจัดการสภาวะแวดล้อมของกลุ่มเป้าหมาย โครงการส่งเสริมนวัตกรรม
14
ผลการบูรณาการ จะประหยัดได้ทั้ง
กำลังคน เวลา และงบประมาณ จึงเหมาะสำหรับ การบริหารจัดการสุขภาพโดยภาคประชาชน
15
สรุป การเปลี่ยนผ่านการจัดการสุขภาพสู่ภาคประชาชน
ประกาศค่ากลาง บูรณาการงาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผล สร้างโครงการ เปิดงาน เพิ่มทักษะการบริหารจัดการแบบบูรณาการ ท้องถิ่น ผู้นำชุมชน รพสต อสม กองทุนฯ เพิ่มทักษะการบริหารจัดการแบบบูรณาการ โ ค ร ง ก า ร
16
คำแนะนำ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรรับผิดชอบโครงการจัดการสภาวะแวดล้อม โดยใช้ค่ากลางชุดเดียวกับโครงการจัดการสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย จะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของทั้งสองโครงการได้มาก (Synergistic Effect) ในการบูรณาการระหว่างองค์กรต่างสังกัดดังกล่าว ควรปรับระบบสาระสนเทศของทั้งสองฝ่ายให้สอดรับและใช้ประโยชน์ร่วมกันได้ และควรมีการประชุมวางแผนการบูรณาการร่วมกัน ควรมีการเพิ่มทักษะในการบริหารจัดการโครงการแบบบูรณาการให้กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เมื่อจัดการบูรณาการแล้ว ควรก้าวสู่การสร้างและจัดการนวัตกรรมสังคมโดยเร็ว
17
www.amornsrm.net ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
ขอขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.