งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

น้ำมันบนความอ่อนไหวการเมืองอิหร่าน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "น้ำมันบนความอ่อนไหวการเมืองอิหร่าน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 น้ำมันบนความอ่อนไหวการเมืองอิหร่าน
งานสัมมนา TISCO Wealth – กรุงเทพธุรกิจ Investment Forum “เจาะลึกฟันด์โฟลว์ จับจังหวะลงทุนตลาดโลก” ดร. โชติชัย สุวรรณาภรณ์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ นโยบายและเศรษฐกิจพลังงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 1 มีนาคม 2555 1 1

2 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อราคาน้ำมัน
Non-Fundamental Financial Market Oil future market FX & Interest Rate Stock and other commodity markets Fundamental Demand Econ growth Industrial Production Weather (seasonal) Government policy (subsidy, efficiency, mandate) Supply Non-OPEC production Call on OPEC OPEC spare capacity Geopolitics Weather (seasonal) E&P cost, investment, technology $ ??? Source: EIA, June 2011 2

3 ปัจจัยที่ต้องจับตามองในระยะสั้นที่จะมีผลต่อราคาน้ำมัน
Fundamental Non-Fundamental Demand Supply Financial market Global economic growth is expected to grow at 3.3% in 2012 driven by emerging economies esp. China and India while Euro area expected to fall into mild recession (IMF, Jan 2012) Global oil demand is expected to grow 1.0 mbd from 89.0 mbd to 90.0 mbd in Demand from developing and emerging economies is expected to grow, meanwhile demand from developed economies is expected to contract. (IEA, Jan 2012) Oil supply will rise from OPEC which agreed to set its production ceiling at 30 mbd, coupled with the resumption in Libyan crude production. Non-OPEC oil supply is expected to raise as well, particular in the US, Canada, China, Brazil and the Former Soviet Union (FSU). On the contrary, supply disruption from Iran’s reaction to the sanction and uncertainty of Arab spring remains Expected stimulus measures 3

4 OPEC cut production and SP
สถานการณ์เศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในโลกจะมีผลต่อความต้องการใช้น้ำมัน และส่งผลต่อราคาน้ำมัน USD/bbl 2551 2552 2554 2553 Hamburger Crisis OPEC cut production and SP QE2 Greece Crisis MENA Crisis Fears over EU debt Oil Price (Dubai) 4

5 เศรษฐกิจโลกหลังปี 2551ที่ผ่านมายังมีการขยายตัวต่อเนื่อง
ทำให้ความต้องการใช้น้ำมันของโลกยังคงเพิ่มขึ้นตามไปด้วย World Oil Demand ล้านบาร์เรลต่อวัน 89.0 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.4 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.8 88.3 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.1 86.6 ลดลง ร้อยละ 1.2 85.6 2551 2552 2553 2554 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Source : IEA ณ มกราคม 2555 5

6 ปัจจุบันเศรษฐกิจโลกยังคงเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงหลายด้าน
Cut its forecasts for global growth in to 3.8, 3.3 and 3.9, down from Sep 2011 forecasts of 4.0, 4.0 and 4.5%, respectively Reasons: Euro area expected to fall into mild recession. Growth in emerging and developing economies is also expected to slow. IMF Marks Down Global Growth Forecast European Debt Maturity Storm to Focus on Attacking the Market Potential Trouble Jan (e) Feb Mar Apr May 93.1 113.1 131.3 151.1 63.7 ’11 ’12 ’13 Real GDP (%yoy) Mild Recession World Euro area 2012 2013 2016 2015 2014 IMF Downside Scenario Assume that euro area face much larger and more protracted bank deleveraging and sizable contractions in credit and output Percent deviation from GDP baseline Source: IMF/WEO-Jan 2012 Intensification of the adverse feed back loops between sovereign and bank funding pressures in the euro area Insufficient progress in developing medium-term fiscal consolidation plans in US and Japan Risk relate to the possibility of a hard landing in key emerging economies Concern about geopolitical oil supply risks i.e. an Iran-related oil supply shock Downside Risks Have Risen Sharply

7 ราคาน้ำมันยังคงอยู่ในระดับสูง แม้เศรษฐกิจมีความไม่แน่นอน
World oil demand is forecasted to climb to 89.9 mb/d in 2012, a gain of 0.8 mb/d (or 0.9%) on the year. Growth has been curtailed by 0.3 mb/d from previous forecast in Jan 2012 as the economic growth rate that underpins the global oil demand outlook has been reduced to 3.3% from 4.0% previously. IEA Revised Down World Oil Demand Growth In 2012 Source: IEA, Feb 2012 However Short-term Oil Price Is Likely To Sustain High, Above $90/BBL… Dubai (USD/BBL) 2011 (A) 106.3 2012 YTD 111.0 Source: OIM, Feb 2012 …Due To Supply Disruption Particularly the Iran Sanction Hormuz is the world's most important oil chokepoint due to its daily oil flow of almost 17 million barrels in 2011. Flows through the Strait in 2011 were roughly 35 % of all seaborne traded oil, or almost 20% of oil traded worldwide.

8 ความตึงเครียดระหว่างอิหร่านกับชาติตะวันตก ส่งผลกระทบต่อ การขนส่งน้ำมัน

9 ทิศทางราคาน้ำมันในตลาดโลก

10 Global energy consumption
การใช้พลังงานของโลก น้ำมันยังคงเป็นพลังงานหลัก แต่ในระยะยาว พลังงานหมุนเวียนจะมีบทบาทมากขึ้น MBD Global energy consumption 323 CAGR ’10-’20 CAGR ’20-’30 CAGR 2% (’10-’30) 3% 2% Renewable 13% 236 12% Nuclear 6% 3% 2% 6% 10% 27% 5% 2% 2% Coal 26% 27% 23% 2% 1% Natural gas 24% 23% 1% 1% 35% 32% Liquid 31% ปริมาณสำรอง ณ สิ้นปี 2552 ใช้ได้อีก น้ำมัน ปี ก๊าซฯ ปี ถ่านหิน 119 ปี Source: International energy outlook, EIA

11 ปริมาณสำรองพลังงานหลักในโลกมีอยู่อย่างจำกัด
ปริมาณสำรองน้ำมัน ปริมาณสำรองก๊าซธรรมชาติ ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต ตะวันออกกลาง ยุโรปและยูเรเซีย แอฟริกา อเมริกาเหนือ เอเชียแปซิฟิค อเมริกาใต้และอเมริกากลาง 4% 5% Reserve Life 58.6 yrs 41% 34% 8% พันล้านบาร์เรล 46.2 yrs 55% 10% 17% 3% ปริมาณสำรองถ่านหิน พันล้านตัน 118 yrs 36% 1% 28% 31% สัดส่วนปริมาณสำรองในปี 2553 ถ่านหิน 53% (860 พันล้านตัน หรือ 2.99 ล้านล้านบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบ) ก๊าซธรรมชาติ 22% (6,609 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต หรือ 1.26 ล้านล้านบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบ) น้ำมัน 25% (1.38 ล้านล้านบาร์เรล) Source: BP Statistical Review of World Energy , as of June 2011 11

12 การจัดหาพลังงานในระยะยาวจะมีการผลิตน้ำมันจากแหล่งใหม่ๆ มากขึ้นและค้นพบยากขึ้น
Unconventional resources will become Future key sources for oil and gas production Production growth mmboepd (mmboepd) Unconventional gas Megatrends Source: EIA; WoodMac; Deutsche Bank; team analysis

13 ราคาพลังงานในอนาคตจึงมีแนวโน้มสูงขึ้นจากต้นทุนการผลิต ใหม่ๆที่เพิ่มขึ้น
US$/BBL Forecast Hamburger Crisis Price of Demand Destruction Marginal Cost Asian Financial Crisis Sept 11th slowdown Cash Cost Dubai Source: Bernstein (2008); PTT Corporate (June 2011)

14 ราคาน้ำมันดิบปี 2555 มีแนวโน้มทรงตัวในระดับสูง
เหรียญสหรัฐฯต่อบาร์เรล คาดการณ์ ราคาน้ำมันดิบ ปี 2555 $131.3/BBL เศรษฐกิจโลกเติบโตสูง ทำให้ความต้องการน้ำมันเพิ่มขึ้นมาก OPEC Spare Capacity อยู่ในระดับต่ำ ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯอ่อน Brent วิกฤตหนี้ยุโรป $116.0/BBL วิกฤต แฮมเบอร์เกอร์ Dubai ความไม่สงบใน MENA $103.9/BBL QE 2 $83.6/BBL WTI $51.7/BBL $40.5/BBL มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ OPEC ปรับลดการผลิต $37.9/BBL หมายเหตุ: ราคาคาดการณ์จาก Purvin&Gertz ณ พ.ย. 2554

15 ราคาน้ำมันสำเร็จรูปปี 2555 มีแนวโน้มทรงตัวในระดับสูง ตามราคาน้ำมันดิบ
คาดการณ์ ราคาน้ำมันสำเร็จรูป ปี 2555 LPG CP เหรียญสหรัฐฯต่อตัน เหรียญสหรัฐฯต่อบาร์เรล $166.4/BBL ดีเซล $140.3/BBL LPG CP $121.9/BBL $121.3/BBL เบนซิน น้ำมันเตา $58.0/BBL $49.2/BBL $47.5/BBL $41.0/BBL หมายเหตุ: ราคาคาดการณ์จาก Purvin&Gertz ณ พ.ย. 2554

16 Source: PIRA, Jan 2012

17 Back Up

18 2554 OPEC’s Crude Oil Production
กลุ่มผู้ผลิตน้ำมัน : OPEC (Organization of the Petroleum Exporting Countries) OPEC Member Countries 2554 OPEC’s Crude Oil Production MBD จุดประสงค์ในการตั้งโอเปก          เพื่อเป็นตัวกลางประสานงานด้านนโยบายน้ำมันระหว่างประเทศผู้ผลิตน้ำมัน ในการรักษาระดับราคาให้มีความเป็นธรรม และสร้างความมั่นคงให้แก่ประเทศผู้ผลิตปิโตรเลียม ก่อให้เกิดการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างเศรษฐกิจ และรักษาระดับความสม่ำเสมอในการผลิตปิโตรเลียม เพื่อให้เพียงพอในการป้อนเข้าสู่ตลาดโลก โดยผู้ผลิตจะได้รับผลตอบแทนที่เป็นธรรม ในการได้รับการคืนทุนที่ได้ลงไปในอุตสาหกรรมการผลิตปิโตรเลียม Neutral Zone production divided 50:50 between Saudi Arabia and Kuwait. Source: IEA, Jan 2012


ดาวน์โหลด ppt น้ำมันบนความอ่อนไหวการเมืองอิหร่าน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google