ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แผนนำทางส่งออกไทย: โอกาสใหม่ในความท้าทาย
“การค้าระบบใหม่ ผ่านนโยบาย เอฟ ที เอ” นำเสนอโดย ดร. คณิศ แสงสุพรรณ ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง 28 เมษายน 2548 ณ ห้องบอลลูม 1-3 โรงแรมแชงกรีลา
2
การปรับโครงสร้างการผลิต-การลงทุน ในอาเซียน
โครงสร้างการส่งออก และประสบการณ์ AFTA การปรับโครงสร้างการผลิต-การลงทุน ในอาเซียน 2005 Target ASEAN Share 21 % -AFTA- ASEAN Become #1 ASEAN US EU Japan
3
FTA กับการสร้างตลาดใหม่
2005 Target Others Share37 % Others 2005 Target ASEAN Share21 % ASEAN
4
กลไกปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ/ ธุรกิจเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ
นโยบาย เอฟ ที เอ กลไกปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ/ ธุรกิจเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน นำไปสู่ การปรับตัว ทางเศรษฐกิจ/ธุรกิจ ด้านการผลิต การลงทุน การค้า การพัฒนา ทางเทคโนโลยี การยกระดับ การดำเนินธุรกิจ การค้า กำหนดมาตรการ ส่งเสริมภาคเศรษฐกิจ ที่มีขีดความสามารถ ในการแข่งขัน กำหนดมาตรการ รองรับ/ปรับตัวภาค เศรษฐกิจที่ได้รับ ผลกระทบจากเอฟทีเอ
5
กำหนดยุทธ์ศาสตร์เอฟทีเอรายประเทศ
การดำเนินนโยบาย กำหนดยุทธ์ศาสตร์เอฟทีเอรายประเทศ ประเทศที่เป็นประตูการค้าสู่ภูมิภาค (บาห์เรน เปรู) ประเทศที่มีพลเมืองมากและมีศักยภาพทางศรษฐกิจ (จีน อินเดีย) ประเทศที่เศรษฐกิจใหญ่ (สหรัฐฯ ญี่ปุ่น) ประเทศที่มีความยืดหยุ่นสูงในการเจรจากับไทย (ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์) กลุ่มประเทศ (ASEAN-China, BIMST-EC)
6
กำหนดประเด็นทางการค้าที่สำคัญในการเจรจา
การดำเนินนโยบาย (ต่อ) กำหนดประเด็นทางการค้าที่สำคัญในการเจรจา การเปิดตลาด (การลดอัตราภาษี กฎแหล่งกำเนิดสินค้า ฯลฯ) มาตรการที่มิใช่ภาษี (มาตรฐานสินค้า มาตรฐานสุขอนามัย ฯลฯ) อื่นๆ (นโยบายการแข่งขัน การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ IPR ฯลฯ)
7
การดำเนินนโยบาย (ต่อ)
กำหนดสาขาภาคการผลิตและบริการ-รายสินค้าที่นำขึ้นเจรจา ประเมินสาขาภาคการผลิตและบริการที่ไทย ได้เปรียบ/เสียเปรียบ เจรจาต่อรองกับประเทศคู่เจรจาเอฟทีเอ กำหนดทีมงานเจรจาเป็นรายประเทศ
8
เจรจาตกลงแบบเบ็ดเสร็จ ส่วนที่เหลือก็เจรจากันต่อ
ลักษณะการเจรจา Agenda เจรจาตกลงแบบเบ็ดเสร็จ Comprehensive Agreement เจรจาตกลงทีละส่วน ส่วนที่เหลือก็เจรจากันต่อ ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์ FTA ไทย-จีน ในกรอบอาเซียน (ในหมวดผัก-ผลไม้) FTA ไทย-อินเดีย (82 รายการ ในหมวด สินค้าเกษตร อาหารแปรรูป ชิ้นส่วนรถยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ และอัญมณี)
9
ผลการเจรจา เอฟ ที เอ จีน อินเดีย นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย
(ลงนามแล้วเมื่อ 5 กรกฎาคม และ มีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2548) (ลงนามแล้วเมื่อ 19 เมษายน 2548 และมีผลบังคับ 1 กรกฎาคม 2548) (หมวดผัก-ผลไม้ มีผลบังคับใช้เมื่อ 1 ตุลาคม 2546) (82 รายการ ในหมวด สินค้าเกษตร อาหาร แปรรูป ชิ้นส่วนรถยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ และอัญมณี มีผลบังคับใช้ เมื่อ กันยายน 2547)
10
มูลค่าทางการค้าเพิ่มขึ้น การมีหุ้นส่วนทางธุรกิจเพิ่มขึ้น
ผลกระทบจาก เอฟ ที เอ เพิ่มโอกาส มูลค่าทางการค้าเพิ่มขึ้น การลงทุนเพิ่มขึ้น การมีหุ้นส่วนทางธุรกิจเพิ่มขึ้น
11
ปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม โคนม-โคเนื้อ
ผลกระทบจาก เอฟ ที เอ (ต่อ) ปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม โคนม-โคเนื้อ ปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมเหล็ก ปรับวิกฤต ให้เป็นโอกาส ปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมผัก-ผลไม้ ปฏิรูป/ปรับปรุง ระบบการเงิน IPR นโยบายแข่งขัน การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ สิ่งอำนวยความสะดวกด้านการค้า การลงทุน และ Logistics <<Back
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.