งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา

2 เบาหวาน... คืออะไร  เป็นกลุ่มอาการที่ ประกอบด้วยภาวะน้ำตาลใน เลือดสูง อันเป็นผลมาจาก ความผิดปกติของการหลั่ง อินซูลิน ส่งผลให้เกิด ภาวะแทรกซ้อนในระยะยาวต่อ อวัยวะต่างๆ เช่น ตา, ไต, ระบบ ประสาท, หัวใจ และหลอด เลือดต่างๆ

3 เบาหวาน... คือ อะไร ( ต่อ )  ความผิดปกติในการออก ฤทธิ์ของฮอร์โมน อินซูลิน ต่ออวัยวะต่างๆ ยังทำ ให้เกิดความผิดปกติของระบบ เผาผลาญไขมัน โปรตีนด้วย นอกเหนือ จากความผิดปกติด้านการเผา ผลาญคาร์โบไฮเดรต  ความผิดปกติในการออก ฤทธิ์ของฮอร์โมน อินซูลิน ต่ออวัยวะต่างๆ ยังทำ ให้เกิดความผิดปกติของระบบ เผาผลาญไขมัน โปรตีนด้วย นอกเหนือ จากความผิดปกติด้านการเผา ผลาญคาร์โบไฮเดรต

4 กลุ่มอาการที่ทำให้ สงสัยว่า... เป็นเบาหวาน หรือไม่ ? กลุ่มอาการที่ทำให้ สงสัยว่า... เป็นเบาหวาน หรือไม่ ?  ปัสสาวะบ่อย  คอแห้งดื่มน้ำมาก  น้ำหนักตัวลด  รับประทานอาหารมากขึ้น  สายตามัว  การเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ ในเด็ก  ติดเชื้อโรคต่างๆได้ง่าย  ปัสสาวะบ่อย  คอแห้งดื่มน้ำมาก  น้ำหนักตัวลด  รับประทานอาหารมากขึ้น  สายตามัว  การเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ ในเด็ก  ติดเชื้อโรคต่างๆได้ง่าย

5 การวินิจฉัยโรค เบาหวาน 1. น้ำตาลในเลือด มากกว่า หรือเท่ากับ 126 mg% 1. น้ำตาลในเลือด มากกว่า หรือเท่ากับ 126 mg% ภายหลังงดอาหาร อย่างน้อย 8 ชั่วโมง 2. มีอาการของโรคเบาหวาน ข้างต้น ร่วมกับตรวจน้ำตาล ณ. จุดใดก็ได้ โดยไม่ต้องอดอาหาร ได้ผลระดับน้ำตาล มากกว่าหรือ เท่ากับ 200 mg% 2. มีอาการของโรคเบาหวาน ข้างต้น ร่วมกับตรวจน้ำตาล ณ. จุดใดก็ได้ โดยไม่ต้องอดอาหาร ได้ผลระดับน้ำตาล มากกว่าหรือ เท่ากับ 200 mg% 3. การทดสอบโดยการดื่ม กลูโคส 75 กรัมภายหลังอดอาหาร อย่างน้อย 8 ชั่วโมง 3. การทดสอบโดยการดื่ม กลูโคส 75 กรัมภายหลังอดอาหาร อย่างน้อย 8 ชั่วโมง 1. น้ำตาลในเลือด มากกว่า หรือเท่ากับ 126 mg% 1. น้ำตาลในเลือด มากกว่า หรือเท่ากับ 126 mg% ภายหลังงดอาหาร อย่างน้อย 8 ชั่วโมง 2. มีอาการของโรคเบาหวาน ข้างต้น ร่วมกับตรวจน้ำตาล ณ. จุดใดก็ได้ โดยไม่ต้องอดอาหาร ได้ผลระดับน้ำตาล มากกว่าหรือ เท่ากับ 200 mg% 2. มีอาการของโรคเบาหวาน ข้างต้น ร่วมกับตรวจน้ำตาล ณ. จุดใดก็ได้ โดยไม่ต้องอดอาหาร ได้ผลระดับน้ำตาล มากกว่าหรือ เท่ากับ 200 mg% 3. การทดสอบโดยการดื่ม กลูโคส 75 กรัมภายหลังอดอาหาร อย่างน้อย 8 ชั่วโมง 3. การทดสอบโดยการดื่ม กลูโคส 75 กรัมภายหลังอดอาหาร อย่างน้อย 8 ชั่วโมง

6 ชนิดของ เบาหวาน 1. เบาหวานชนิดที่ต้องการ อินซูลิน หรือเบาหวาน 1. เบาหวานชนิดที่ต้องการ อินซูลิน หรือเบาหวาน ชนิดที่ 1 พบ 5 - 10 % 2. เบาหวานชนิดที่ 2 พบใน ผู้ใหญ่ ในสัดส่วน ประมาณ 95 % ของเบาหวานทั้งหมด 2. เบาหวานชนิดที่ 2 พบใน ผู้ใหญ่ ในสัดส่วน ประมาณ 95 % ของเบาหวานทั้งหมด 3. เบาหวานที่เกิดร่วมกับโรค อื่นๆ / ยา / การติดเชื้อต่างๆ 3. เบาหวานที่เกิดร่วมกับโรค อื่นๆ / ยา / การติดเชื้อต่างๆ 4. เบาหวานที่เกิดในระยะ ตั้งครรภ์ พบ 4 % 4. เบาหวานที่เกิดในระยะ ตั้งครรภ์ พบ 4 % 1. เบาหวานชนิดที่ต้องการ อินซูลิน หรือเบาหวาน 1. เบาหวานชนิดที่ต้องการ อินซูลิน หรือเบาหวาน ชนิดที่ 1 พบ 5 - 10 % 2. เบาหวานชนิดที่ 2 พบใน ผู้ใหญ่ ในสัดส่วน ประมาณ 95 % ของเบาหวานทั้งหมด 2. เบาหวานชนิดที่ 2 พบใน ผู้ใหญ่ ในสัดส่วน ประมาณ 95 % ของเบาหวานทั้งหมด 3. เบาหวานที่เกิดร่วมกับโรค อื่นๆ / ยา / การติดเชื้อต่างๆ 3. เบาหวานที่เกิดร่วมกับโรค อื่นๆ / ยา / การติดเชื้อต่างๆ 4. เบาหวานที่เกิดในระยะ ตั้งครรภ์ พบ 4 % 4. เบาหวานที่เกิดในระยะ ตั้งครรภ์ พบ 4 %

7 ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด เบาหวานในผู้ใหญ่  อายุ มากกว่าหรือเท่ากับ 45 ปี  น้ำหนักตัวเกินมาตรฐานดัชนีมวลกาย มากกว่าหรือเท่ากับ 25  มีประวัติคนในครอบครัวเป็น  เคลื่อนไหวร่างกายน้อย หรือไม่ออก กำลังกาย  น้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติมาก่อนแต่ ยังไม่ถึงขั้นเป็นเบาหวาน  เคยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์  ความดันโลหิตสูง ( มากกว่าหรือเท่ากับ 140 / 90 mmhg )  ไขมันในเลือดผิดปกติ  อายุ มากกว่าหรือเท่ากับ 45 ปี  น้ำหนักตัวเกินมาตรฐานดัชนีมวลกาย มากกว่าหรือเท่ากับ 25  มีประวัติคนในครอบครัวเป็น  เคลื่อนไหวร่างกายน้อย หรือไม่ออก กำลังกาย  น้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติมาก่อนแต่ ยังไม่ถึงขั้นเป็นเบาหวาน  เคยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์  ความดันโลหิตสูง ( มากกว่าหรือเท่ากับ 140 / 90 mmhg )  ไขมันในเลือดผิดปกติ

8 ความดัน โลหิตสูง  ภาวะที่ความดันโลหิต สูง มากกว่า หรือเท่ากับ 140/90 mmhg  พบได้บ่อยร่วมกับ โรคเบาหวาน  ปัจจัยการเกิด : ความอ้วน, อายุ, ความยืดหยุ่นของหลอด เลือดลดลง, อินซูลิน, ระบบ ฮอร์โมนที่ควบคุมการทำงานของ หลอดเลือด, ปริมาณสารน้ำและ เกลือในร่างกาย  ภาวะที่ความดันโลหิต สูง มากกว่า หรือเท่ากับ 140/90 mmhg  พบได้บ่อยร่วมกับ โรคเบาหวาน  ปัจจัยการเกิด : ความอ้วน, อายุ, ความยืดหยุ่นของหลอด เลือดลดลง, อินซูลิน, ระบบ ฮอร์โมนที่ควบคุมการทำงานของ หลอดเลือด, ปริมาณสารน้ำและ เกลือในร่างกาย

9 เป้าหมายการควบคุม เบาหวาน และความดันโลหิตสูง... เป้าหมายการควบคุม เบาหวาน และความดันโลหิตสูง...  น้ำตาลสะสม น้อยกว่าหรือเท่ากับ 7 %  น้ำตาลก่อนอาหาร 90 - 130 mg %  น้ำตาล 2 ชั่วโมงหลังอาหาร น้อยกว่า 180 mg %  ความดันโลหิต น้อยกว่าหรือเท่ากับ 130 / 80 mmhg  ระดับไขมันในเลือด LDL น้อยกว่า 100 mg % HDL มากกว่า 40 mg % HDL มากกว่า 40 mg % TG น้อยกว่า 100 mg % TG น้อยกว่า 100 mg %  น้ำตาลสะสม น้อยกว่าหรือเท่ากับ 7 %  น้ำตาลก่อนอาหาร 90 - 130 mg %  น้ำตาล 2 ชั่วโมงหลังอาหาร น้อยกว่า 180 mg %  ความดันโลหิต น้อยกว่าหรือเท่ากับ 130 / 80 mmhg  ระดับไขมันในเลือด LDL น้อยกว่า 100 mg % HDL มากกว่า 40 mg % HDL มากกว่า 40 mg % TG น้อยกว่า 100 mg % TG น้อยกว่า 100 mg %

10 น้ำตาลสะสม / ค่าเฉลี่ย เบาหวานคืออะไร ?  เป็นการวัดระดับการควบคุม น้ำตาล ในช่วงระยะเวลา 2 - 3 เดือนก่อนมาตรวจ ( HbA1C ) A1C ( % ) ค่าเฉลี่ยน้ำตาล A1C ( % ) ค่าเฉลี่ยน้ำตาล 6 135 6 135 7 170 7 170 8 205 8 205 9 240 9 240 10 275 10 275 11 310 11 310 12 345 12 345  เป็นการวัดระดับการควบคุม น้ำตาล ในช่วงระยะเวลา 2 - 3 เดือนก่อนมาตรวจ ( HbA1C ) A1C ( % ) ค่าเฉลี่ยน้ำตาล A1C ( % ) ค่าเฉลี่ยน้ำตาล 6 135 6 135 7 170 7 170 8 205 8 205 9 240 9 240 10 275 10 275 11 310 11 310 12 345 12 345

11 การรักษาเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง  การควบคุมอาหาร - สัดส่วนคาร์โบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน 50 : 20 : 30 - จำกัดปริมาณของไขมันอิ่มตัว - เพิ่มปริมาณของใยอาหาร, ธัญพืช - การใช้น้ำตาลเทียม - จำกัดปริมาณเกลือที่รับประทาน 3 กรัมต่อวัน  การควบคุมอาหาร - สัดส่วนคาร์โบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน 50 : 20 : 30 - จำกัดปริมาณของไขมันอิ่มตัว - เพิ่มปริมาณของใยอาหาร, ธัญพืช - การใช้น้ำตาลเทียม - จำกัดปริมาณเกลือที่รับประทาน 3 กรัมต่อวัน

12 อาหาร แบบปิรามิด อาหาร แบบปิรามิด แสดงถึงสัดส่วนอาหารที่สร้างสมดุล และเป็นผลดีต่อสุขภาพ

13 การรักษาเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง ( ต่อ )   การออกกำลังกาย - ครั้งละ 20 - 30 นาที ต่อวันอย่าง น้อย / 3 - 4 ครั้ง - ครั้งละ 20 - 30 นาที ต่อวันอย่าง น้อย / 3 - 4 ครั้ง ต่อสัปดาห์ ( โดยรวมประมาณ 150 นาทีต่อสัปดาห์ )  การงดสูบบุหรี่  งดการดื่มสุราในปริมาณที่มาก เกินไป  การลดน้ำหนัก ลดโอกาสเกิด ความดันสูงได้ 5-6 เท่า  การรักษาทางยา   การออกกำลังกาย - ครั้งละ 20 - 30 นาที ต่อวันอย่าง น้อย / 3 - 4 ครั้ง - ครั้งละ 20 - 30 นาที ต่อวันอย่าง น้อย / 3 - 4 ครั้ง ต่อสัปดาห์ ( โดยรวมประมาณ 150 นาทีต่อสัปดาห์ )  การงดสูบบุหรี่  งดการดื่มสุราในปริมาณที่มาก เกินไป  การลดน้ำหนัก ลดโอกาสเกิด ความดันสูงได้ 5-6 เท่า  การรักษาทางยา

14 ความดันโลหิตสูงมี ความสัมพันธ์ต่อการเกิด ภาวะแทรกซ้อนของ เบาหวาน...  ทุกๆ 10 mmhg ของความดัน โลหิตที่ลดลง ลด ภาวะแทรกซ้อนของเบาหวานทุก อย่างได้ 12 %  ลดอัตราการตายที่สัมพันธ์กับ เบาหวานได้ 15 %  ลดการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย ได้ 11 %  ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน ทางตา, ไต และปลาย ประสาทได้ 13 %  ทุกๆ 10 mmhg ของความดัน โลหิตที่ลดลง ลด ภาวะแทรกซ้อนของเบาหวานทุก อย่างได้ 12 %  ลดอัตราการตายที่สัมพันธ์กับ เบาหวานได้ 15 %  ลดการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย ได้ 11 %  ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน ทางตา, ไต และปลาย ประสาทได้ 13 %

15  ความสำคัญของการได้ แอสไพริน และยาต้านการจับ กลุ่มของเกล็ดเลือด ผู้ป่วยเบาหวานทุกราย ที่มีอายุมากกว่า 20 ปีขึ้น ไป ควรจะได้รับยาใน กลุ่มนี้ ผู้ป่วยเบาหวานทุกราย ที่มีอายุมากกว่า 20 ปีขึ้น ไป ควรจะได้รับยาใน กลุ่มนี้

16 การฉีดวัคซีนป้องกัน ไข้หวัดใหญ่และปอด อักเสบ ลดอัตราการ นอน ร. พได้... การฉีดวัคซีนป้องกัน ไข้หวัดใหญ่และปอด อักเสบ ลดอัตราการ นอน ร. พได้... 79 % 79 %

17


ดาวน์โหลด ppt โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google