งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
1 1

2 โครงสร้างกฎหมายอนุรักษ์พลังงาน
พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มิ.ย. 2551 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 3 เม.ย. 2535 พระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 12 ธ.ค. 2538 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 17 ก.ค. 2540 กฎกระทรวง มาตรฐาน การจัดการพลังงาน คุณสมบัติ ผู้รับผิดชอบพลังงาน มาตรฐานการออกแบบอาคาร มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 20 มิ.ย. 2552 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 20 พ.ย. 2552 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 31 ก.ค. 2552 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 8 เม.ย. 2552 คุณสมบัติ ผู้ตรวจสอบพลังงาน มาตรฐานด้านประสิทธิภาพการใช้พลังงานในเครื่องจักร อุปกรณ์ กำหนดวัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 11 พ.ค. 2555

3 พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม
โรงงาน/อาคาร ที่มีขนาด เครื่องวัดไฟฟ้าตั้งแต่ ,000 kW ขึ้นไป หม้อแปลงไฟฟ้าตั้งแต่ 1,175 kVA ขึ้นไป การใช้พลังงานรวมตั้งแต่ 20 ล้าน MJ/ปี ขึ้นไป ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม พ.ศ ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม พ.ศ. 2538 9

4 หน้าที่ของเจ้าของโรงงานควบคุม / อาคารควบคุม (มาตรา 9, 21)
หน้าที่ของเจ้าของโรงงานควบคุม / อาคารควบคุม (มาตรา 9, 21) มีหน้าที่ดังนี้ 1. จัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจำโรงงาน / อาคารควบคุม (คุณสมบัติ จำนวน หน้าที่ให้ออกเป็นกฎกระทรวง) 2. จัดให้มีการจัดการพลังงานในโรงงาน / อาคารควบคุม (หลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติให้ออกเป็นกฎกระทรวง) 4

5 กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน
คุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใดของ ผชร. / ผชอ. จบปวส. + ประสบการณ์ 3 ปี + ผลงานอนุรักษ์พลังงาน จบปริญญาทางวิศวกรรมศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ + ผลงานอนุรักษ์พลังงาน สำเร็จการอบรมหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานสามัญ สำเร็จการอบรมหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานอาวุโส สอบผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนดจากการจัดสอบผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน 5

6 การแต่งตั้งผู้รับผิดชอบพลังงาน โรงงานควบคุม/อาคารควบคุม
ประเภท โรงงานควบคุม/อาคารควบคุม ขนาดเครื่องวัดไฟฟ้า < 3,000 kW ≥ 3,000 kW ขนาดหม้อแปลง < 3,530 KVA ≥ 3,530 KVA ปริมาณการใช้พลังงาน < 60 ล้าน MJ/ ปี ≥ 60ล้าน MJ/ ปี จำนวนผู้รับผิดชอบพลังงาน 1 คน 2 คน การอบรมหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานอาวุโสหรือผู้ที่สอบได้ตามเกณฑ์

7 กฎกระทรวงมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน
7 7

8 กฎกระทรวงมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน
การกำหนดโครงสร้างหน่วยงานด้านการจัดการพลังงาน ส่งรายงานฯ มี.ค. ทุกปี ระบบการจัดการพลังงาน การประเมินสถานการณ์เบื้องต้น กำหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงานและ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การทบทวน วิเคราะห์ แก้ไขระบบ การประเมินศักยภาพ การอนุรักษ์พลังงาน กำหนดเป้าหมายและ แผนอนุรักษ์พลังงาน รวมทั้งแผนฝึกอบรบ ตรวจติดตาม ประเมิน ระบบการจัดการพลังงาน ดำเนินการตามแผนฯ

9 1 2 3 พรบ. การส่งเสริมการอนุรักษ์ฯ พ.ศ. 2535
(แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550) มีผลบังคับ 1 มิ.ย. 51 1 กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน 2 3 กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบัติผู้รับผิดชอบ ด้านพลังงาน กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบัติผู้ตรวจสอบ พลังงาน บังคับ 20 พ.ย. 52 บังคับ 31 ก.ค. 52 รอกฤษฎีกาพิจารณา ประกาศกระทรวง - หลักเกณฑ์และวิธีการ จัดการพลังงาน ในโรงงาน/อาคารควบคุม รมว.พน.ลงนาม 24 ก.ย. 52

10 ขั้นตอนการดำเนินการอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมาย
เจ้าของโรงงาน/อาคาร แจ้งผลรายงาน กฎกระทรวงคุณสมบัติ ผู้รับผิดชอบพลังงาน ผู้ตรวจสอบพลังงาน แต่งตั้ง ผชร./ผชอ. กฎกระทรวงมาตรฐานการ จัดการพลังงาน จัดทำการจัดการพลังงาน ตรวจสอบและรับรอง การจัดการพลังงานโดยผู้ตรวจสอบพลังงาน ส่งรายงานการจัดการพลังงานภายในเดือนมีนาคมของทุกปี ตรวจสอบโดยเจ้าหน้าที่ของ พพ. 10 10

11 กฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน
11 11

12 การตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน
” ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน” หมายความว่า ตรวจสอบและรับรองการจัด การพลังงานให้เป็นไปตามกฎกระทรวงว่าด้วยการ กำหนดมาตรฐานหลักเกณฑ์ และวิธีการจัด การพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม

13 คุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาต (ข้อ 3)
1. กรณีบุคคลธรรมดา (ก) สัญชาติไทย (ข) ได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกรใน สาขาที่กำหนดให้การจัดการพลังงานเป็นงานในวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขานั้น (ค) เป็นผู้สำเร็จการฝึกอบรมด้านการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศกำหนด (ง) มีผู้ชำนาญการและผู้ช่วยผู้ชำนาญการตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๔ (จ) ไม่อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตที่ออกตาม กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานในระยะเวลาสามปีก่อนวันขอรับ ใบอนุญาตหรือไม่เป็นผู้เคยต้องโทษโดยคำพิพากษาถึงที่สุดในความผิดตาม กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน เว้นแต่พ้นโทษมาแล้วไม่น้อยกว่า สามปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต

14 คุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาต (ข้อ 3)
2. กรณีนิติบุคคล (ก) ต้องจดทะเบียนนิติบุคคลตามกฎหมายไทย และมีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจ หรือให้บริการเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน หรือการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการ ใช้และการผลิตพลังงาน (ข) ได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร และมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม (1) (ง) และ (จ) (ค) กรรมการหรือผู้จัดการของนิติบุคคล หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงาน ของนิติบุคคลอย่างน้อยหนึ่งคน ต้องมีคุณสมบัติตาม (1) (ก) (ข) และ (ค) (ง) กรรมการหรือผู้จัดการของนิติบุคคล หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงาน ของนิติบุคคลต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม (1) (จ)

15 คุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาต (ข้อ 4)
4. ผู้ขอรับใบอนุญาตต้องมีผู้ชำนาญการและผู้ช่วยผู้ชำนาญการซึ่งมีจำนวน หน้าที่ และคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ชำนาญการอย่างน้อยหนึ่งคน - ทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานและจัดทำรายงานผลการ ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน - โดยผู้ชำนาญการแต่ละคนสามารถตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานให้กับ โรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมได้ไม่เกิน 30 แห่งในแต่ละรอบของการ ตรวจสอบและรับรองการจัด (2) ผู้ช่วยผู้ชำนาญการอย่างน้อยสองคน - ทำหน้าที่ช่วยผู้ชำนาญการในการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน และ ช่วยผู้ชำนาญการจัดทำรายงานผลการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน - โดยผู้ช่วยผู้ชำนาญการแต่ละคนสามารถตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน ให้กับโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมได้ไม่เกิน 30 แห่งในแต่ละรอบของการ ตรวจสอบและรับรองการจัด ผู้ชำนาญการ และผู้ช่วยผู้ชำนาญการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อ 3 (1) (ก) (ค) และ (จ)

16 คุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาต (ข้อ 5,6)
ข้อ 5 ผู้ชำนาญการและผู้ช่วยผู้ชำนาญการต้องไม่เป็นผู้ชำนาญการหรือผู้ช่วย ผู้ชำนาญการให้กับผู้รับใบอนุญาตรายอื่นในเวลาเดียวกัน และต้องไม่เป็น บุคลากรประจำของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมที่เข้าไปดำเนินการ ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน ข้อ 6 การตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคาร ควบคุมแต่ละแห่งต้องดำเนินการโดยผู้ชำนาญการอย่างน้อยหนึ่งคนและ ผู้ช่วยผู้ชำนาญการอย่างน้อยสองคน

17 ? Q & A Thank you 17 17


ดาวน์โหลด ppt พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google