Thai Public Administration

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Thai Public Administration"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Thai Public Administration
การปฏิรูประบบราชการ

2 การปฏิรูประบบราชการไทย
ระบบราชการไทยเป็นระบบที่มีการสืบทอดกันมายาวนาน หลาย ร้อยปีเป็นกลไกหลักในการบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่ง ภารกิจที่สำาคัญ ยิ่ ง ในการบริ ห ารประเทศ คื อ การก่ อ ตั้ ง และปฏิรูป การจัดระเบียบการปกครองภายในประเทศ ปัญหา ต่างๆที่เกิดขึ้นต่อระบบ บริหารราชการของไทย ซึ่งเป็นระบบ ที่มีอายุยาวนานและมี ก ารเปลี่ยนแปลงแบบช้าๆ ระบบ ราชการไทยจึงมีปัญหาที่สั่งสมไว้มาก

3 ปัญหาของระบบราชการ 1. ปัญหาเรื่องการทุจริตและพฤติมิชอบในวงราชการ เป็น ปัญหาหลักและเรื้อรังที่สะสมมานาน ไม่อาจแก้ไขได้อย่าง รวดเร็ว และเบ็ดเสร็จ ทำให้ภาพลักษณ์ของระบบราชการ ไทยติดอยู่กับปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่นอย่างแยกไม่ออก การปฏิรูประบบราชการ จึงเป็นมาตรการสำาคัญที่จะช่วย แก้ไขปัญหานี้ให้น้อยลงหรือหมดไปในที่สุด

4 ปัญหาของระบบราชการ 2. ปัญหาเรื่องขนาดของระบบราชการไทย ระบบ ราชการไทยมี โครงสร้างของส่วนราชการที่มีขนาดใหญ่ ซับซ้อน มีอัตรากำาลัง ข้าราชการเป็นจำานวนมากทำให้ระบบราชการมีระบบการ บริหารงานที่ไม่คล่องตัว ประสบกับปัญหาด้านค่าใช้จ่ายบุคลากรที่ มี แนวโน้มสูงขึ้นทุกปี ก่อให้เกิดภาระด้านงบประมาณอย่างไม่ สิ้นสุด และมีผลกระทบต่องบประมาณในการพัฒนาประเทศด้าน อื่นๆ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ความจำาเป็นของรัฐในการปฏิรูประบบ ราชการเพื่อแก้ไขปัญหานี้ จึงเป็นปัญหาที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ

5 ปัญหาของระบบราชการ 3. ปัญหาเรื่องประสิทธิภาพในการบริหารราชการระบบราชการ ไทยถูกวิพากษ์วิจารณ์ถึงประสิทธิภาพการบริหารงานอยู่เสมอ เมื่อเทียบกับการบริหารงานในภาคเอกชนการบริหารงานราชการ ที่ผ่านมาส่วนใหญ่ไม่มีการประเมินผลการปฏิบัติงานว่างานนั้นมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพียงใด ขาดตัวชี้วัดในการดำาเนิน งาน ทำให้ไม่สามารถวิเคราะห์ถึงความคุ้มทุนและผลสัมฤทธิ์ของ การดำาเนินงานของส่วนราชการได้อย่างชัดเจน

6 ปัญหาของระบบราชการ แต่โดยที่ ประชาชนต้องการได้รับบริการสาธารณะจากรัฐที่ มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ รวดเร็ว ความคาดหวังของ ประชาชนโดยทั่วไปจึงต้องการ ห็นภาพลักษณ์ใหม่ของ ระบบราชการไทยในแนวทางดังกล่าว จึงนับเป็นปัจจัย สำคัญประการหนึ่งที่แสดงเห็นถึงเหตุผล และความ จำเป็น ของการปฏิรูประบบราชการเพื่อแก้ปัญหาในด้าน ประสิทธิภาพของการให้บริการประชาชน

7 ปัญหาของระบบราชการ 4. ปัญหาการบริงานแบบรวมศูนย์อำนาจ กล่าวคือ ราชการบริหาร ส่วนกลาง ซึ่งได้แก่กระทรวง ทบวง กรม มีความเข้มแข็ง การ บริหารงานและการตัดสินใจมีลักษณะรวมศูนย์ไว้ที่ส่วนกลาง ทั้งหมด แม้ว่าจะมีการมอบอำนาจการบริหารงานให้กับราชการ ส่วนภูมิภาคก็ตาม แต่การบริหารงานของราชการส่วนภูมิภาคก็ยังไม่ สามารถใช้อำนาจเด็ดขาดหรือมีความอิสระในการตัดสินใจได้มาก นัก ยังต้องยึดนโยบายจากส่วนกลางเป็นหลักทรัพยากรการบริหาร ส่วน ใหญ่จึงขึ้นอยู่กับการจัดสรรจากส่วนกลาง

8 ปัญหาของระบบราชการ 5. ปัญหาโครงสร้างส่วนราชการที่ไม่คล่องตัว โครงสร้างการ บริหารงานภาครัฐในปัจจุบันมีลักษณะที่ไม่ยึดหยุ่น ขาดความ คล่องตัว การบริหารยึดติดกับกรอบตามอำานาจหน้าที่ที่กฎหมาย กำหนดเป็นหลักทำให้การบริหารไม่สอดคล้องกับกระแสความ เปลี่ยนแปลงของสังคมได้อย่างทันการณ์ การปรับเปลี่ยนโครงสร้าง องค์กรทำได้ไม่คล่องตัว และเนื่องจากโครงสร้างองค์กรมีขนาดใหญ่ ทำให้การปรับรื้อต้องใช้ระยะเวลาพอสมควรในการดำเนินการ

9 ปัญหาของระบบราชการ 6. ปัญหากฎระเบียบ เทคโนโลยีและวิธีงานไม่ทันสมัย การบริหารงาน ภาครัฐเป็นบริหารงานโดยยึดโยงกับกฎหมายและระเบียบต่างๆ เป็น จำนวนมาก กฎระเบียบบางเรื่องเป็นอุปสรรคต่อการบริหารงานภาครัฐ และไม่ทันสมัย นอกจากนั้นเทคโนโลยีต่างๆที่นำมาใช้ในระบบราชการ ยังขาดความทันสมัย เมื่อเทียบกับการดำเนินงานของภาคเอกชนตลอดจน การบริหารงานภายใต้ระบบราชการเป็นการบริหารที่ต้องปฏิบัติตาม กฎระเบียบอย่างเคร่งครัด การบริหารงานให้ความสำาคัญกับกระบวนการ มากกว่าเป้าหมายทำให้ การบริหารงานขาดความคล่องตัว

10 ปัญหาระบบราชการ 7. ปัญหากำลังคนภาครัฐไม่มีคณภาพ กำลังคนภาครัฐที่มีอยู่ใน ระบบราชการปัจจุบันส่วนใหญ่ยังขาดคุณภาพและมีความ จำเป็นต้องได้รับการพัฒนาในหลายๆ ด้านอย่างเร่งด่วน กำลังส่วน ใหญ่ยังขาดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และยึดติดกับการทำางาน ระบบเดิม ทั้งนี้อาจเป็นผลสืบเนื่องมาจากความ มั่นคงในระบบ ราชการ ทำให้กำลังคนภาครัฐขาดความกระตือรือร้นในการ ปฏิบัติงาน เนื่องจากอยู่ในสถานะของตำาแหน่งที่มีเสถียรภาพและ มั่นคงค่อนข้างสูง

11 ปัญหาระบบราชการ 8. ปัญหาค่าตอบแทนและสวัสดิการที่ไม่เหมาะสม ข้าราชการเป็น กลุ่มบุคคลที่มีรายได้และค่าตอบแทนค่อนข้างต่ำ เมื่อเปรียบเทียบกับ บุคคลกลุ่มอื่นๆ ที่ปฏิบัติงานในภาคต่างๆ ทั้งนี้ เนื่องจากภาคราชการ เป็นองค์กรขนาดใหญ่ ทำให้การปรับปรุง ค่าตอบแทนและ สวัสดิการทำาได้ค่อนข้างลำบาก เนื่องจากภาครัฐ ต้องใช้ งบประมาณดำาเนินการเป็นจำนวนมากรวมถึงค่าตอบแทนที่ได้รับ ไม่สอดคล้องกับกลไกตลาด ทำให้รายได้ของข้าราชการอยู่ใน ระดับ ต่ำและไม่สัมพันธ์กับภาวะค่าครองชีพที่เพิ่มสูงขึ้นอยู่ตลอดเวลา

12 ปัญหาระบบราชการ 9. ปัญหาทัศนคติและค่านิยมดั้งเดิม ระบบราชการเป็น ระบบที่ให้ความสำคัญกับลำาดับชั้นของการบังคับบัญชา ทำให้ราชการไม่กล้าแสดงความคิดเห็นเท่าที่ควร รวมทั้ง การต้องเคารพในระบบอาวุโสของการทำงานทำให้ราชการ รุ่นใหม่ไม่สามารถแสดง ศักยภาพในการทำางานได้อย่าง เต็มที่ ทัศนคติและค่านิยมดั้งเดิม

13 ปัญหาระบบราชการ ในภาคราชการดังกล่าวจึงไม่เปิดโอกาสให้มีการส่งเสริมคนเก่ง คนดี คนมีความรู้และความสามารถ ได้ใช้โอกาสในการแสดง ศักยภาพการ ทำงานได้อย่างเต็มทีเท่าที่ควร ตลอดจนข้าราชการ มักจะเคยชินกับ ระบบบริหารราชการไทย ระบบรับคำสั่ง และนำามาปฏิบัติมากกว่าที่จะคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ รวมทั้งขาด ความกล้าหาญที่จะโต้แย้งเมื่อเห็นว่าคำสั่งนั้นไม่ถูกต้อง หรือการ ปฏิบัติงานนั้นไม่เหมาะสมที่จะปฏิบัติ 

14 ปัญหาระบบราชการ ปัญหาที่กล่าวมานั้นอาจกล่าวได้ว่าเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นต่อ ระบบราชการไทยนับแต่อดีต จวบจนกระทั่งปัจจุบันซึ่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เล็งเห็นและ ดำเนินการปฏิรูป การบริหารราชการแผ่นดิน ในยุคแรกซึ่ง เป็นแนวทางของการปฏิรูประบบราชการในปัจจุบันด้วย

15 ก า ร ป ฏิ รู ป ร ะ บ บ ร า ช ก า ร ใ น ส มั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว มี ก า ร ป ฏิ รู ป ร ะ บ บ ร า ช ก า ร ใ น รู ป แ บ บ ดั ง นี้ คือ 1. การปฏิรูปการบังคับบัญชางานภายในกระทรวง ให้มีรูปแบบเป็ นระบบราชการชัดเจนขึ้ น มีลำดั บขั้ นการบั งคั บบั ญ ชามีการ แบ่ง งานและเลือกสรรผู้มีความรู้ความสามารถเข้ารับราชการ โดยการจัด สอบคัดเลือกตลอดจนออกระเบียบวินัยต่าง ๆ เช่น เลิกประเพณีให้ ข้าราชการทำงานอยู่ ที่บ้าน กำหนดให้มีการประชุมข้าราชการทุกวัน กำหนดเวลาการทำงาน ตลอดจนจัดระเบียบ ส่งร่างเขียนและเก็บ หนังสือราชการ เป็นต้น

16 ก า ร ป ฏิ รู ป ร ะ บ บ ร า ช ก า ร ใ น ส มั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว 2. การปฏิรูประบบการปกครองส่วนภูมิภาค ซึ่งเรียกว่า"ระบบเทศาภิบาล"ได้ เป็นผลสำเร็จและนับว่าเป็นผลงานสำคัญที่สุดของพระองค์โ ดยทรงรวมหัว เมืองต่างๆ จัดเข้าเป็น "มณฑล" และมี "ข้าหลวงเทศาภิบาล" เป็น ผู้บังคับบัญชาแต่อยู่ในอำนาจของเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย อีกชั้นหนึ่ง สำหรับ การแบ่ง เขตย่อยลงไปเป็ นจั ง หวั ด อำา เภอ ตำบลและหมู่ บ้านนั้ น ในร.ศ.116 (พ.ศ. 2440) ได้ออก"พระราชบัญญัติลักษณะ การปกครองท้องที่ บังคับใช้ทั่ว พระราชอาณาจักร พระกรณียกิจที่ระบบบริหารราชการไทย ล้วน เป็นคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติ และประชาชนยั่ง ยืนมาจนถึ งปัจจุบั น

17 การปฏิรูประบบราชการในปัจจุบัน
ในการพิจารณาถึงทิศทางของการบริหารราชการไทย โดยทั่วไปจะ ยึดเป็นแนวทางแห่งรัฐธรรมนูญ และแผนพัฒนา เศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติเป็นหลัก ในส่วนของรัฐธรรมนูญนัน ได้ มีการ บัญญัติถึงแนวนโบายพื้นฐานแห่งรัฐไว้ในหมวดหนึ่งของ รัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยบทบัญญัติที่กำหนดภารกิจของรัฐไว้อย่าง ชัดเจน เช่น การบัญญัติว่ารัฐจะต้องให้ความเป็นอิสระแก่ท้องถิ่น ตามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนใน ท้องถิ่น เป็นต้น(สุโขทัยธรรมาธิราช,2548,351)

18 การปฏิรูประบบราชการในปัจจุบัน
สำาหรับประเทศไทยแล้วระบบราชการเป็นสถาบันที่มี ความสำคัญต่อการดำรงอยู่ของรัฐช่วยพัฒนาประเทศให้มีความ เจริญก้าวหน้า ระบบราชการจึงเป็นกลไกการบริหารงานที่ทุก รัฐบาลที่เข้ามาบริหารราชการแผ่นดินให้ความสำาคัญ โดยกำหนด ไว้ในนโยบายการปรับปรุงระบบการบริหารราชการแผ่นดินที่มี ประสิทธิภาพจะเอื้ออำนวยต่อการพัฒนาประเทศ ช่วยให้ประเทศ มีความเข้มแข็ง มีศักยภาพในการแข่งขัน สามารถที่จะต้องสู้กับ สภาวะแวดล้อมทางการ เมืองเศรษฐกิจ และสังคม

19 การปฏิรูประบบราชการในปัจจุบัน
ทั้งนีแนวทางในการปรับการการบริหารราชการแผ่นดินให้มี ประสิทธิภาพ ดังนี้ 1. ปฏิรูประบบราชการให้มีประสิทธิภาพและมีโครงสร้างที่กระชับ เหมาะสมกับ สถานการณ์ในปัจจุบันและสามารถตอบสนองต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศพร้อมทั้งเร่งตรากฎหมายเพื่อปรับ โครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม เพื่อให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงใน กระแสโลกระบบบริหารราชการไทย และสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจและสังคม

20 การปฏิรูประบบราชการในปัจจุบัน
2. ปรับปรุงบทบาทของภาครัฐจากผู้ปฏิบัติ และควบคุมเป็น ผู้สนับสนุนและอำนวยความสะดวก และให้การสนับสนุน การดำเนินงานของภาคเอกชนและประชาชนโดยส่งเสริม ให้เอกชนและประชาชนสามารถมีส่วนร่วมอย่างสำคัญใน การปฏิรูประบบราชการ เพื่อวางแนวทางดำาเนินการให้ ชัดเจนและต่อเนื่อง

21 การปฏิรูประบบราชการในปัจจุบัน
3. ปรับกระบวนการบริหารราชการโดยใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อให้ประชาชน ได้รับบริการข้อมูลข่าวสาร อย่างกว้างขวาง รวดเร็ว และเท่าเทียมกัน พร้อมกันนี้จะ ปรับปรุงพระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสาร ของทางราชการให้ สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง

22 การปฏิรูประบบราชการในปัจจุบัน
4. เร่งพัฒนาคุณภาพของข้าราชการให้มีทัศนคติที่เอื้อต่อ งานการบริการประชาชน รวมทั้งทบทวนกฎหมาย ระเบียบ ขั้นตอน และวิธีปฏิบัติงาน เพื่อให้การบริการราชการมี ความยึดหยุ่นมีประสิทธิผล โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมี การประเมินผลที่เป็นระบบและเป็นธรรม 

23 การปฏิรูประบบราชการในปัจจุบัน
5. เร่งรัดการปรับเปลี่ยนกระบวนจัดทำและจัดสรร งบประมาณให้เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มี ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ในการ พัฒนาประเทศส่งเสริมให้กระทรวง ระบบบริหารราชการ ไทย ทบวง กรมมีบทบาทในการตัดสินใจมากขึ้น พร้อมทั้ง จัดให้มีระบบควบคุมตรวจสอบ ที่มีประสิทธิภาพโปร่งใส

24 การปฏิรูประบบราชการในปัจจุบัน
แนวทางการปฏิรูประบบราชการคือ การให้บริการสาธารณะ แก่ประชาชนได้อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดย การส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและ ให้ประชาชนมี ทางเลือกในการจัดการเกี่ ยวกั บ บริ ก ารสา ธารณะเพิ่มมากขึ้นเพื่อ ให้การบริหารราชการเป็นกลไกของ สังคมที่สามารถจัดองค์ประกอบ ของสังคมให้อยู่ร่วมกัน ได้ อย่างมีความสุข

25 การปฏิรูประบบราชการในปัจจุบัน
สอดคล้องกั บ แนวคิ ด Good Governance ที่เห็น ว่าการบริหารราชการต้องสามารถนำพาสังคมส่วนรวมให้มี การพัฒนาได้แบบยั่งยืน คือ ประชาชนมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีมี โอกาสในการศึกษาที่ถูกต้องอย่างทั่วถึง และเท่าเทียมกัน โดยคนในสังคมจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมสร้างสรรค์และ นำพาสังคมให้ สันติสุข ภายใต้การแบ่งปันทรัพยากรอย่าง เป็นธรรมและไม่ทำลาย ธรรมชาติแวดล้อม 

26 รูปแบบการบริหารราชการที่พึงประสงค์
การจัดระบบราชการให้ มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับ บริบทของสังคมนั้ น เพื่ อสามารถนำพาสังคมให้บ รรลุ เ ป้ า หมายที่ วางแผนไว้ ซึ่งอาจไม่มีความจำเป็น ที่ระบบ ราชการของทุก ประเทศ ห รือทุ ก ๆ สั ง ค ม ต้ อ ง มี รู ป แ บ บ ห รื อ ลั ก ษ ณ ะ เ ดี ย ว กั น ดั ง นี้

27 1.การสร้างความเปิดเผยและโปร่งใสให้กับระบบราชการ
1.1 พัฒนากลไกการตรวจสอบให้มีประสิทธิภาพ เพื่อลด ปัญหาการทุจริต คอรัปชั่นในวงราชการและเสริมสร้างจริยธรรมให้กับ ข้าราชการและ ประชาชน อีกทั้งยังส่งเสริมให้ ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการ ตรวจสอบการทำางานของส่วนราชการอีกด้วย โดย หน่วยงานทั้งภาครัฐและ เอกชนจะต้องประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับระบบบริหารราชการไทย ประชาชน เพื่อประชาชนจะได้รับทราบข้อมูล (data) ข่าวสาร (message) และขั้นตอนการดำาเนินงานต่างๆ ของรัฐที่เกี่ยวข้องกับ การ บริหารราชการและผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นได้เพื่อสร้างความ เข้าใจและ สนใจแก่ประชาชนที่จะเข้ามาปกป้องพิทักษ์รักษาผล ประโยชน์ของส่วนรวม

28 1.การสร้างความเปิดเผยและโปร่งใสให้กับระบบราชการ
ประชาชนจะเป็นกลไกที่สำคัญและจะต้องอาศัยเครื่องมือที่ มี ประสิทธิภาพอันได้แก่ รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พระราชบัญญัติ การป้องกัน และปราบ ปรามการทุจริตแห่งชาติ สื่อมวลชน องค์กรอิสระ (NGO) ศาลปกครองและกระบวนการ ยุติธรรมเหล่านี้ เป็นต้น

29 1.การสร้างความเปิดเผยและโปร่งใสให้กับระบบราชการ
1.2 การปรับปรุงระบบงบประมาณของแผ่ น ดิ น ให้ มี ค วาม โปร่งใส ระบบงบประมาณถือเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาประเทศและสัง คม เพื่ อให้ การใ ช้ ง บประม าณ เป็ น ไ ปอย่ าง มี ประ สิ ท ธิ ภ า พ (efficiency) ประสิทธิผล (effectiveness) ควรปรับเปลี่ยนวิธีการ จัดทำงบประมาณและขั้นตอนการประมูลงานของส่วนราชการในแบบเดิม มาเป็ น ระบบงบประมาณแบบใหม่ ที่ มุ่ งเน้ น ผลงานแทนเพราะจะ สามารถประเมินผลงานได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น และยังสามารถป้องกัน การ นำเอางบประมาณของแผ่นดินไปแสวงหาประโยชน์ส่วนตนของข้าราชการ และนักการเมืองไ ด้อีกด้วย

30 1.การสร้างความเปิดเผยและโปร่งใสให้กับระบบราชการ
1.3ความโปร่งใสในการกำหนดนโยบายและการปฏิบัติตาม กฎหมายเป็นปัจจั ย สำคัญ ในการสร้างความเป็ นธรรมใน การให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนทุกคน ซึ่งจะส่งผลให้ เกิดความสงบเรียบร้อยและขจัดปัญหาความขัดแย้งใน สังคม ความเป็นธรรมนี้จะต้อง เ ริ่ ม กั น ตั้ ง แ ต่ ร ะ ดั บ ปั จ เ จ ก บุ ค ค ล ร ะ ดั บ น โ ย บ า ย จ น ถึ ง ร ะ ดั บ ป ร ะ เ ท ศ

31 2.การเพิ่มทางเลือกในการจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนมากขึ้น
ระบบบริหารราชการไทย พลเมืองของประเทศมี ความ แตกต่างกัน ทั้งด้านการศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิจและ วัฒนธรรมของชุมชน การเพิ่มทาง เลือกในการจัดการ บริการสาธารณะให้กับประชาชนจึงมีความเหมาะสมกับ สภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน ซึ่งสามารถกระทำ ได้ใน หลายวิ ธี คื อ

32 2.การเพิ่มทางเลือกในการจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนมากขึ้น
2.1ส นั บ ส นุ น ใ ห้ มี ก า ร ก ร ะ จ า ย อำนาจก า ร บ ริ ห า ร ง า น สาธารณะให้กับท้องถิ่น เพื่อให้ประชาชนในแต่ละ ท้องถิ่นสามารถกำา หนดและเลือกวิถีชีวิตของตนเองได้อีกทั้ง ยังเป็นการปรับลดขนาดของ ระบบราชการ ส่วนกลางอีกแบบหนึ่งเพราะการบริหารราชการใน ปัจจุบัน มีการผูกขาดอำนาจการให้บริหารสาธารณะไว้ที่ส่วนกลางเป็น หลัก ทำให้ประชาชนมี ท างเลื อ กได้ น้ อ ยในการรั บ บริการ สาธารณะและส่วนราชการก็มีภาระหน้าที่มากเกิน ความจำเป็นจึงขาด ความคล่องตัวและประสิทธิภาพในการ ใ ห้ บ ริ ก า ร 

33 2.การเพิ่มทางเลือกในการจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนมากขึ้น
การกระจายอำนาจการบริหารงานสาธารณะให้กับท้องถิ่นก็ คื อ การเพิ่ ม บทบาท หน้าที่ข องราชการส่วนท้องถิ่ น ได้แ ก่ องค์การบริหารส่วน จังหวัด องค์การบริหารส่วนตำบล เทศบาล ให้มีอิสระในการกำหนด นโยบาย การปกครอง การบริหาร การบริหารงานบุคคลและการเงินการ คลังเป็นของตนเองเพิ่มมากขึ้น โดยการปรับ ลดบทบาทของราชการส่วน ภูมิภาคลง คือ จังหวัดและอำเภอและให้ผู้ว่าราชการจังหวัดและนาย อำาภอเปลี่ยนมา ทำหน้าที่ เป็ น ผู้ ประสานงานนโยบายระหว่างราชการ ส่วนกลางและ ส่วนท้องถิ่นแทน ซึ่งจะต้องมีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย การบริหารราชก า ร แ ผ่ น ดิ น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั น ทั้ ง ห ม ด

34 2.การเพิ่มทางเลือกในการจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนมากขึ้น
2.2 ส่งเสริมการรวมตัวของประชาชนที่จะจัดทำกิจกรรมที่ เป็นประโยชน์แก่ชุมชนโดยจัดให้การศึกษาและอำนวย ความสะดวก สำหรับการรวมกลุ่มทำากิจกรรมที่เป็น ประโยชน์แก่ ชุมชนเพราะระบบบริหารราชการไทย ทำให้ ประชาชนได้มีทางเลือกและเสริมสร้างความสามารถใน การจัดการปัญหาตนเองมากขึ้น

35 2.การเพิ่มทางเลือกในการจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนมากขึ้น
2.3 การปรับลดขนาดของระบบราชการให้เล็กลงเพื่อให้ประชาชนได้มี ทางเลือกในการจัดการบริการสาธารณะได้มากขึ้น ภาระหน้าที่อื่น ๆ ที่รัฐไม่ จำเป็นต้องดำาเนินการเองก็ควรปรับเปลี่ยน บทบาทมาเป็นผู้ให้การ สนับสนุนและกำกับดูแลแทนโดยให้เอกชน เข้ามาแข่งขันกันในการ ให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนอันมีกลไก ตลาดเป็นตัวกำหนด แต่ถ้าหาก บริการในด้านใดที่รัฐฯคิดว่าไม่สามารถใช้กลไกการตลาดได้ก็ควรมี หน่วยงานของรัฐเข้ามาควบคุม ด้านคุณภาพ (quality) และราคา (regulate) ส่วนหน่วยงานราชการเดิมก็จะต้องแปรรูปไปตามความ เหมาะสมกับลักษณะขององค์กรนั้น ๆ ซึ่งจะสามารถเลือกทำได้หลายวิธี เช่น

36 2.การเพิ่มทางเลือกในการจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนมากขึ้น
1. ยุบเลิกหน่วยงา น (abolish) 2. การแปรรูปหน่วยงานของรัฐให้เอกชนเข้ามาแข่งขันดำเ นินการอย่าง เส รี (privatization) 3. ก า ร ทำา สั ญ ญ า ว่ า จ้ า ง ใ ห้ เ อ ก ช น ม า ดำ นิ น ก า ร (contracting out) 4. ปรับเป็นองค์การบริหารแบบพิเศษ (executive agency)

37 2.การเพิ่มทางเลือกในการจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนมากขึ้น
5. เมื่อภาระหน้าที่ของรัฐลดลงและการบริการราชการไม่ ซับซ้อน และมากเกินไป การให้บริการสาธารณะต่าง ๆ แ ก่ ป ร ะ ช า ช น ก็ จ ะ ส า ม า ร ถ กระทำไ ด้ อ ย่ า ง มี ประสิทธิภาพ (efficiency) ยิ่งขึ้นโดยให้ส่วนราชการมี ภาระหน้าที่เฉพาะเท่าที่จำเป็นเท่านั้น เพื่อรักษาความ สงบเรี ย บร้ อ ยและขจัด ปั ญหาข้ อ ขั ด แย้ ง ในสั ง คม

38 3.ปรับปรุงการทำงานของส่วนราชการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
โดยการปรับขั้นตอนการทำงาน โครงสร้างองค์ก ร และกา รบริ หารงานบุคคล เพื่อให้สามารถปรับเปลี่ยนการ ดำเนินงานขององค์กรได้ทันต่อสภาพแวดล้อมของโลก ปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง

39 3.ปรับปรุงการทำงานของส่วนราชการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ซึ่งทำได้ โดยการวิเคราะห์ ร ะบบงานใหม่ เช่ น ระบบการไหล เวี ย นของ เอกสาร ระบบบัญชี แ ละการเงิน เป็นต้น และนำเอาเทคโนโลยีทางด้าน คอมพิวเตอร์ที่มีความทันสมัยมาใช้ปรับปรุงการทำงาน สร้างพฤติกรรมที่ เหมาะสมให้กับข้าราชการในการให้บริการ แก่ ประชาชน โดยการอบรมให้ ข้าราชการให้มีค วามเข้ า ใจถึ ง เป้ า หมายของการทำงานมากกว่ายึดติด ระเบียบขั้นตอนการปฏิบัติงาน เพื่อให้เป็นหลักประกันให้กั บ ข้ า ราชการที่ ต้ อ งการให้ บ ริ ก าร ตามความ ประสงค์มากกว่ายึดติดกับกฎระเบียบและเป็นหลักประกัน ให้กับประชาชนที่ จะได้รับการบริการจากส่วนราชการอย่างเป็นธรรม

40 ขณะเดียวกันยังเป็นการมุ่งเน้นที่จะทำา ให้ระบบราชการเล็กลง เพื่ อ เพิ่ ม ประ สิ ท ธิ ภ าพด้ า นการทำา งานของข้ า ราชการ เนื่ อ งจาก บทบาทที่ เ ปลี่ ย นไประบบราชการในบทบาทใหม่ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เอกสารข้ อ มู ล จึ ง จำา เป็ น ต้ อ งพั ฒ นาความรู้ ค วามสามารถของ ข้ าราชการให้ส ามารถทำา งา นอย่ า งมื อ อาชี พ (knowledge worker) แ ล ะ เ ชี่ ย ว ช า ญ ใ น ยุ ค แ ห่ ง ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ความสามารถในการปฏิบัติงานของข้าราชการต้อง เพิ่มขึ้น โดย เ ฉ พ า ะ ใ น ด้ า น 

41 3.ปรับปรุงการทำงานของส่วนราชการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
1. ความสามารถในการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อให้ทำงานได้ เบ็ดเสร็จด้ วยตนเอง เช่น รู้จักการใช้งานของ โทรศัพท์ โทรสาร เครื่องถ่ายเอกสาร คอมพิว เตอร์ อินเตอร์เน็ต เพื่อการติดต่อสื่อสารและนำเสนอผลงานได้ เอง 2. ความสามารถในการใช้ภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งภาษาอังกฤษซึ่งเป็นภาษากลางในการสื่อสารและเป็นสื่อ นำสู่ แ ห ล่ ง ค ว า ม รู้ ที่ สำคัญของโลกปัจจุบัน

42 3.ปรับปรุงการทำงานของส่วนราชการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
3. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์จากการรั บ ทราบข่าวสาร ข้อมู ล ความ เคลื่อนไหวทั่ว โลกในเวลาอันรวดเร็วเพื่อสร้างทางเลือกเชิ ง นโยบายให้ ทัน กับสถานการณ์ ที่ เ ป ลี่ ย น ไ ป แนวคิดในการปฏิรูประบบราชการที่มีการปรับโครงสร้าง การลดขนาด ของ ระบบราชการที่มีกรมเป็นฐานให้น้อยลง ลดความซ้ำซ้อนของกรม ต่าง ๆ ภายในกระทรวง หรือ ทบวงที่ซ้ำซ้อนกันหรือทำางานอย่าง เดียวกันเข้ามา เป็นกรมเดียวกันอันเป็นการเพิ่มพลังให้กับรัฐ โครงสร้างใหม่ของ ราชการ ไทยเปลี่ยนจาก 14 กระทรวง เป็น 20 กระทรวง

43 เป้าหมายของการปฏิรูประบบราชการ
สร้างระบบการบริหารและบริการของรัฐที่รวดเร็ว เสมอภาค เป็น ธรรม และเป็นที่พึงพอใจแก่ประชาชน ยกระดับคุณภาพชีวิต ของ ประชาชนให้มีโอกาสและมาตรฐานการดำารงชีวิตที่ดีขึ้นมีระเบียบ วินัย และตั้งมั่นอยู่ในคุณธรรม ส่งเสริมหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน ให้มีความสามารถในการแข่งขันได้ในระดับระหว่าง ประเทศ และเป็น ผู้นำในภูมิภาคอาเซียน ทั้งในด้านการส่งเสริม สันติภาพ สิทธิมนุษยชน การพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม ตลอดจน ความร่วมมือกับ ประชาคมโลก

44 เป้าหมายของการปฏิรูประบบราชการ
สาระสำคัญของการปฏิรูประบบราชการนั้นได้วางเป้าหมายนั้นได้ วางเป้าหมายและวัตถุประสงค์ไว้ครอบคลุมทุกด้านในการ บริหาร ภาครัฐ ประกอบด้วย 6 ประเด็นสำคัญคือ 1. ยกระดับความสามารถและสร้างประสิทธิภาพโดยรวม ของ หน่วยงานราชการ เพื่อที่ภาครัฐจะสามารถนำาบริการที่ดีมี คุณภาพมา สู่ประชาชน 2. มีระบบการทำงานและบุคคลกรที่มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล สูงเท่าเทียมกับมาตราฐานสากล

45 เป้าหมายของการปฏิรูประบบราชการ
3. สร้างและฟื้นฟูความเชื่อมั่นของประชาชนและสังคมต่อ ระบบราชการ 4. สร้างระบบราชการให้ตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายของ ประชาชน 5. มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า และ เป็นประโยชน์ต่อ ส่วนรวม 6. สนับสนุนภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนให้เติบโต มีความเข้มแข็ง และเป็นกลไกหลักในการพัฒนาประเทศ

46 เป้าหมายของการปฏิรูประบบราชการ
มีเจตนารมย์ของการปฏิรูประบบราชการ เพื่อที่จะแก้ไขพื้นฐาน ของระบบราชการที่หมักหมมมานานจนประชาชนลดความ ศรัทธา นั่นคือ ปัญหาประสิทธิภาพต่ำ โครงสร้างองค์กรที่ตึงตัว ไม่ยืดหยุ่น การรวมศูนย์อำานาจและตัดสินใจไว้ที่ส่วนกลางมาก เกินไป กฎ ระเบียบ และเทคโนโลยีไม่ทันสมัย เงินเดือน และ ค่าตอบแทน ข้าราชการไม่จูงใจ ค่านิยม ข้าราชการแบบนั้นดั้งเดิม ข้าราชการ ด้อยคุณภาพ รวมไปถึงปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบ

47 เป้าหมายของการปฏิรูประบบราชการ
จุดเน้นที่สำาคัญที่สุดของการปฏิรูประบบราชการครั้งนี้ คือ การปรับราชการให้มีขนาดเล็กลงแต่มีประสิทธิภาพสูง เปิด โอกาสให้ ประชาชนและประชาสังคมให้เจ้ามามีส่วนร่วม ใช้งบประมาณแนว ใหม่เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนในการ ปฏิรูประบบราชการ และจัดระบบ เงินเดือนและ ค่าตอบแทนเพื่อสร้างข้าราชการ มืออาชีพ ซื่อสัตย์ และ คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมให้มากที่สุด

48 กระบวนการปฏิรูประบบราชการ
ยุทธศาสตร์ในการปฏิรูประบบราชการ 4 ประการ คือ 1. จัดโครงสร้างหน่วยงานภาคราชการให้มีขนาดกะทัดรัด คล่องตัวมีผู้รับผิดชอบการบริหารงานและผลงานตามแบบ บทบาท ภารกิจที่ได้รับมอบหมายอย่างชัดเจน 2. จัดระบบงบประมาณและวิธีการงบประมาณให้เป็น งบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ 

49 กระบวนการปฏิรูประบบราชการ
3. สร้างระบบการทำางานที่สั้น รวดเร็ว และมีผู้รับผิดชอบ ที่ชัดเจน วัดผลงานได้ โดยใช้เงินเดือนค่าตอบแทนตามผลงาน (Performance Based Incentive) สร้างระบบสรรหา แต่งตั้งบุคลากรของราชการได้ โปร่งใสและเป็นธรรม 4. ปรับปรุงกลไกการทำางานของหน่วยราชการให้มี ประสิทธิภาพ และสามารถแข่งขันกับ หน่วยงานประเภทเดียวกันได้ และข้าราชการ จะต้องปรับทัศนคติและกรอบความคิดใหม่ให้เป็นผู้ที่ ทำางานที่มี มาตรฐานในวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม

50 แนวโน้มหรือทิศทางการบริหารราชการของไทยในอนาคต
การปฏิรูประบบราชการเป็นงานที่ต้องกระทำาอย่างเป็น ระบบ และต่อเนื่อง จึงจะเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรม และทันการณ์ สำหรับประเทศไทยมีเรื่องใหญ่ๆ ที่ต้องการ ดำเนินงานในชั้นแรกเพื่อเป็นตัวเร่งหรือขับเคลื่อนสำคัญที่ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็น ลูกโซ่ นั่นคือ

51 กระบวนการปฏิรูประบบราชการ
1.ขจัดภารกิจที่ไม่จำเป็นให้ความสำคัญต่อการกำหนด บทบาทภารกิจหลัก ให้ชัดเจนเพื่อปรับระบบและโครงสร้างราชการให้ มีเอกภาพ ชัดเจน มี ขนาดที่เหมาะสม แต่มีประสิทธิภาพสูง 2. ปรับปรุงระบบการบริหารงานของหน่วยงานในระดับ ต่างๆ ได้อย่างเป็น รูปธรรมและสามารถตรวจสอบได้ 3.ปรับแนวทางและวิธีการบริหารงบประมาณโดยให้เน้น นโยบายและ ยุทธศาสตร์การพัฒนาของรัฐเป็นตัวกำาหนดเพื่อใช้ระบบ งบประมาณแนว ใหม่เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนการปฏิรูประบบ

52 กระบวนการปฏิรูประบบราชการ
4.จัดระบบการบริหารบุคคลและเงินเดือนค่าตอบแทนของ ระบบ ราชการใหม่เพื่อสร้าง ข้าราชการมืออาชีพและเป็นกลางทางการเมือง สร้างกลไกการส่งเสริมให้คนมีคุณภาพสูงมารับราชการเป็นอาชีพ การ บำรุงขวัญกำลังใจเพื่อให้ราชการปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความซื่อสัตย์และ สร้างประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม 5.ปรับระบบการให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของ ประชาชน และเปิดโอกาสให้ ประชาสังคมมีส่วนร่วมในการกระบวน การ ตัดสินใจและการตรวจสอบงานภาครัฐมากขึ้น 

53 กระบวนการปฏิรูประบบราชการ
6. ปรับระบบราชการให้เป็น (Net Govenment) คือมี โครงสร้าง บทบาทภาระหน้าที่และระบบการบริหารราชการที่เหมาะ สมกับความ ต้องการของประเทศและประชาชนโดยใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยี สารสนเทศ เข้ามาขับเคลื่อนทรัพยากรและความรู้ความสามารถของทุก หน่วยงานรัฐให้ทำางานร่วมกันในการแก้ปัญหาการให้ บริการประชาชน และให้ประชาชนได้รับรู้ข้อมูล ข่าวสาร (People & User Frindly) ทั้งนี้การแก้ไขปัญหาจะมองปัญหาในมุมมองของ ประชาชน ซึ่งวิธีการ ดังกล่าวจะทำให้ประชาชนได้รับบริการของรัฐใน แบบเบ็ดเสร็จจุดเดียว (One Stop Service) ประชาชนเข้ามาใช้ บริการได้ง่ายสะดวก

54 กระบวนการปฏิรูประบบราชการ
7. สร้างพันธกิจขอระบบบริหารภาครัฐแนวใหม่โดยทำาลาย ลด ละ เลิก สิ่งที่ไม่พึงประสงค์ล้าสมัยหมดความจำเป็น หรือซ้ำซ้อนกับงานที่ของ หน่วยงานทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน หรือภาค ประชาชนและรักษาสิ่งดี ของภาครัฐที่มีอยู่ไว้รวมทั้งนำส่วนดีของภาค เอกชนมาเพิ่มเติมในการ ปรับปรุงงานภาครัฐ  8. มุ่งเน้นการทำางานแบบ (Network) เปลี่ยนระบบการทำางานจาก ตาม (Function) มาเป็นการทำางานตาม (Objective) และ (Result -Out) ตลอดจนปรับระบบการทำางานให้สั้น กะทัดรัด รวดเร็ว และโปร่งใส

55 กระบวนการปฏิรูประบบราชการ
9. พัฒนาข้าราชการให้เป็นมืออาชีพรวมทั้งปรับกระบวนทัศน์ราชการ ให้คิดแบบ (Outside - In) คือการคิดโดยเอาเองผลประโยชน์ ของประเทศชาติ ประชาชนเป็นที่ตั้งก่อนประโยชน์ของหน่วยงาน มิใช่ เป็นการคิดแบบ (Inside - Out) อย่างเดียว 10. ปรับโครงสร้างและบทบาทของรัฐใหม่ รวมปรับปรุง สังคายนา กฎหมายกฎระเบียบให้ทันสมัยมีน้อยแต่ชัดเจน นอกจากนั้นแล้วจะ ปรับระบบการบริหารบุคคลให้ทันโลก ปรับเงินเดือนข้าราชการให้ทัน ตลาดเพื่อให้ได้มืออาชีพเข้ามาบริหารราชการ

56 กระบวนการปฏิรูประบบราชการ
11. สร้างเครือข่ายการปฏิรูประบบราชการให้เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางการปฏิรูประบบราชการจำเป็นต้องอาศัยความ ร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจจากกลุ่มบุคคลหลายฝ่ายการปฏิรูป ระบบราชการจะไม่มี โอกาสสอดพบกับความสำาเร็จได้อย่าง แท้จริง หากการปฏิรูปดำเนิน การโดยกลุ่มคนเพียงบางกลุ่ม การสร้างเครือข่ายการปฏิรูประบบ ราชการจะต้องสร้าง กระบวนการมีส่วนร่วมลงไปถึงระดับรากหญ้าของสังคม

57 กระบวนการปฏิรูประบบราชการ
12. สร้างกระแสการยอมรับในระบบราชการ เพื่อให้ ข้าราชการมีทัศนคติที่ยอมรับต่อความเปลี่ยนแปลงต้องมี การปรับ แนวทางและวิธีการกระตุ้นเร่งเร้าเพื่อให้เกิดการ ยอมรับการปฏิรูป ระบบราชการ โดยจะต้องสร้างระบบให้ เห็นผลกระทบในเชิงลบและเสนอข้อมูลข่าวสารอย่าง ตรงไปตรงมา เพื่อให้เกิดความตระหนักร่วมกันในการ ปฏิรูประบบราชการ 

58 กระบวนการปฏิรูประบบราชการ
13. มีกฎหมายการปฏิรูประบบราชการไว้เป็นการเฉพาะ เพื่อให้ เกิดผลในทางปฏิบัติอย่างแท้จริง กฎหมายดังกล่าวจะมีความ สำคัญ ต่อการปฏิรูประบบราชการเป็นอย่างยิ่งและเป็นเครื่องมือที่จะ นำมาใช้ในแง่มุมของการบังคับเพื่อให้เกิดการปฏิรูป โดยสามารถ นำา มาใช้เป็นเครื่องมือของการบริหารจัดการ เป็นกลไกในการสร้าง พลัง ขับเคลื่อน รวมทั้งใช้เป็นเครื่องมือการตรวจสอบผลการดำาเนิน งาน ของฝ่ายการเมืองและข้าราชการประจำตลอดจนเป็นเครื่องมือ ของประชาชนในการกำาหนดเป้าหมาย การติดตามและการ สนับสนุนการ ดำาเนินงานได้อีกทางหนึ่ง

59 กระบวนการปฏิรูประบบราชการ
14. มีการนำเสนอปัญหาและความจำเป็นในการปฏิรูป อย่างรุนแรง เพื่อกระตุ้นให้สังคมมองเห็นความสำคัญและ ความ จำเป็นที่จะต้องปฏิรูประบบราชการอย่างจริงจัง พร้อมทั้งมีการจัดลำดับความสำาคัญของปัญหาเร่งด่วนที่ จะต้องดำาเนินการให้เห็นอย่าง ชัดเจน เพื่อประโยชน์ใน การระดมสรรพกำาลังและทรัพยากรการ บริหารทุกด้านเข้า ไปดำเนินการ 

60 กระบวนการปฏิรูประบบราชการ
15. การทำงานในเชิงรุก (Pro - Active) ให้มากขึ้น และเน้นการสร้างความร่วมระหว่างผู้กำหนดนโยบายกับ กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการผลักดันให้การเปลี่ยนแปลงรวมทั้ง การพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะให้เกิดผลในการ ปฏิรูประบบราชการควรจะ ต้องมีการศึกษา (Research) เพื่อเป็น รากฐานสนับสนุนความคิด ใน การเปลี่ยนแปลงนั้นด้วย 

61 กระบวนการปฏิรูประบบราชการ
ผลพวงของการปฏิรูป ระบบราชการที่มีเป้าหมายเพื่อ ทำให้ การบริห ารงานในส่วนของระบบราชการกระชับฉับไว ตอบสนองความพึงพอใจของประชาชนได้นั้น อาจจะต้อง อาศัยปัจจัยหลายๆด้านประกอบกัน ดังที่กล่าวมาแล้ว แต่ ทั้งนี้การที่จะทำาให้เป้าหมายสัมฤทธิ์ ผล็อย่างถาวรแล้ว ต้องเกิดจากการรวมพลังของทั้ งข้าราชการ และประชาชน


ดาวน์โหลด ppt Thai Public Administration

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google