ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โรงพยาบาลหาดใหญ่ นิเทศราชการครั้งที่
4
Challenge for Service Plan
Specialised Service Design Self Contained Smart organization & Information Seamless Service Network management Self Contained Referral Cascade Management System
5
Excellent centers ลดความแออัด Service plan จ.สงขลา
PA & จุดเน้นเขตบริการสุภาพที่ 12 ลดความแออัด Service plan จ.สงขลา
6
Excellent centers
7
Cardiac center อัตราผู้ป่วย STEMI เสียชีวิตแยกตาม Killip
อัตราตายผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (I20-I25) < 10% อัตราตายผู้ป่วย ACS (I200,I214,I210-I213) <10% อัตราตายผู้ป่วย STEMI(IPD) (I210-I213) <10% อัตราผู้ป่วย STEMI เสียชีวิตแยกตาม Killip Cardiac center Open heart surgery ร้อยละของผู้ป่วยSTEMI ที่ได้รับการเปิดหลอดเลือด (Reperfusion Therapy) รวม 2 วิธี
8
อัตราการตรวจพบผู้ป่วยมะเร็ง early stage
จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยและรักษาหลัก ภายในเกณฑ์เวลาที่กำหนด Cancer center อัตราการตรวจพบผู้ป่วยมะเร็ง early stage Patho Surgery CMT RT 2559 98 53 74 59 2560 99 58 72 51 2561 93 56 2562 69 71 100
9
Cancer center Cancer Registry
อัตราการรอดชีวิต 5 ปีของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม อัตราการรอดชีวิต 3 ปีของผู้ป่วยลำไส้ใหญ่ stage dead alive เต้านม 1 2 ( 1.7 %) 15 ( 13.1 %) 88.2% 2 53 ( %) 96.3% 3 6 ( 5.2 %) 20 ( 1.7 %) 76.9% 4 3 ( 2.6 %) 8 ( 6.9 %) 72.7% loss 3 (2.6 %) 60% ลำไส้ใหญ่ 5 ( 3.47 %) 100% 3 ( 2.1 %) 31 ( %) 91.2% 22 ( 15.1 %) 29 ( 20.1 %) 56.9% 33 ( 22.9 %) 16 ( 11.1 %) 32.6% 2 (1.4 %) 40% Cancer Registry
10
อัตราตายทารกแรกเกิด (Neonatal Mortality Rate)
(<4/1000 live-birth) Neonatal center Maternal & Child อัตราการเสียชีวิตของมารดาจากการตั้งครรภ์ และ / หรือการคลอด ต่อแสนทารกเกิดมีชีพ) (< 20) อัตราตายทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
11
Trauma center อัตราตายผู้ป่วยบาดเจ็บต่อสมอง (Head injury)
อัตราตาย (Multiple injury)
12
Organ donor & Transplant center จำนวนอวัยวะบริจาค
ตค -ธค.61 จำนวนผู้ป่วยปลูกถ่ายไขกระดูกทั้งหมด Multiple myeloma 11 ราย มีผู้ป่วยสมองตายยินยอมบริจาคอวัยวะ > 0.7 ราย / 100 hospital death = มีผู้ป่วยสมองตายยินยอมบริจาคตา > 1.2 ราย / 100 hospital death = Waiting list ไต 25 ราย Waiting list กระจกตา 0 ราย Plan Regional harvest team จำนวนผู้ป่วยผ่าตัดปลูกถ่ายไตและดวงตา
13
Self Contained Radiation Open Heart Surgery Complicated heart disease
Advanced Intervention Inadequate NICU/PICU
16
Stroke อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง Stroke(I63-I69)
17
อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วย Sepsis (กลุ่ม Community-acquired)
ตค.-ธค.62 ตัวชี้วัด เป้าหมาย รพ. Refer Non med รวม อัตรา H/C Time ภายใน 45 นาที >90% 95 93.9 80 93.6 อัตรา ATB Time ภายใน 60 นาที 92.5 95.1 70 92.4 อัตราการให้ Fluid Resuscitate 2000 MLภายใน 1 ชั่วโมง กรณีไม่มีข้อห้าม 72.5 75.6 74.4 อัตราการเข้าICU หรือดูแลแบบภาวะวิกฤติ ระดับ 2-3 >30% 85 90.2 90 87.7
18
Trauma center การพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
1) สนับสนุนให้มียา 20% manitol ในโรงพยาบาลชุมชน 2) เพิ่มช่องทางการสื่อสารสามารถ consult ผล CT brain กับแพทย์ศัลยกรรมประสาทได้ตลอด 24 ชั่วโมง 3) มี fast track severe TBI 4) ให้ความรู้ในการประเมินและรักษาภาวะ brain herniation ส่งผลให้ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะรุนแรงเข้าสู่ระบบ Fast-track neurotrauma ร้อยละ (เฉลี่ย 3 ปี )
20
PA ค้นหาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
TB อัตราความสำเร็จการรักษาวัณโรคปอดรายใหม่ ปี PA ค้นหาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ตค.-ธค.62 จำนวน ประชากร 400,038 เป้าหมายปี 62 515 ขึ้นทะเบียน 124 จำนวนผู้ป่วยตามPA 78
21
ผลการประเมินรพ.สต.ติดดาวของทีมประเมินจังหวัด
หัวข้อ : การพัฒนาสอนระบบบริการปฐมภูมิ ( รพ.สต.ติดดาว) ตัวชี้วัด ร้อยละ 80 ของ รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ ระดับ 5 ดาว ผลการประเมินรพ.สต.ติดดาวของทีมประเมินจังหวัด รพ.สต. ระดับ ผล 1.ควนลัง 5 ดาว ผ่าน 2.คูเต่า 3.คอหงส์ 4.คลองแห 5.คลองอู่ตะเภา 6.ฉลุง 7.ทุ่งใหญ่ 8.หูแร่ 9.บ้านหินผุด 10.ทุ่งตำเสา 11.ท่าข้าม 12.น้ำน้อย 13.ท่าจีน 14.บ้านพรุ 15. สอน.พะตง 16.บ้านทุ่งปรือ สถานการณ์ มีการขับเคลื่อน รพ.สต.ติดดาว 16 แห่งในอำเภอหาดใหญ่ โดยการบูรณาการกับการพัฒนางานประจำควบคู่กับการมีทีมพี่เลี้ยงเข้าไปติดตามดูแลการพัฒนาตามเกณฑ์คุณภาพผลการดำเนินงาน พบว่า รพ.สต.ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ ระดับ 5 ดาวครบทุก รพ.สต. บาเจาะ ยี่งอ ระแงะ เจาะไอร้อง ตากใบ ปัญหา / ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ ในหมวดที่ 4 เรื่องระบบ IC LAB และระบบยา เป็นงานเฉพาะด้านที่เครือข่ายต้องมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง - ทำแผนติดตามโดยทีมพี่เลี้ยง - สรุปผลการประเมินเป็นระยะเพื่อการพัฒนา สุไหงปาดี สุไหงโก-ลก จะแนะ สุคิริน แว้ง จะแนะ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ/ผลงานเด่น 1. มีต้นทุนที่ดี ในเรื่องทีมมีความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง มีงบประมาณสนับสนุน 2. ผู้บริหารให้ความสำคัญในเชิงนโยบายสู่การปฏิบัติ 3. การทำงานเป็นทีมที่ชัดเจน มีพี่เลี้ยงดูแลเฉพาะงานตามระบบ 4. ทีมประเมินเป็นการประเมินเพื่อเสริมพลัง
22
หัวข้อ : การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ (พชอ.)
ตัวชี้วัด อำเภอผ่านเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทุกตำบล(ร้อยละ 100 ) มีการใช้กลไก พชอ. แก้ปัญหาในระดับพื้นที่ อย่างน้อยตำบลละ 1 เรื่อง สถานการณ์ อำเภอได้ดำเนินการขับเคลื่อน พชอ. เป็นไปตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี และมีการวิเคราะห์คัดเลือกประเด็นปัญหา และจัดทำแผนเพื่อแก้ไข 2 เรื่อง ได้แก่ เรื่อง การจัดการเรื่องขยะ และ การดูแลผู้ด้อยโอกาส ปัญหา / ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ ไม่มี ปัจจัยแห่งความสำเร็จ/ผลงานเด่น 1. ผู้บริหารให้ความสำคัญ และมีนโยบายชัดเจน 2. การจัดการขยะมีภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็งทั้งส่วนเอกชน และราชการมีกิจกรรมต่อเนื่อง 3. ตำบลท่าข้ามมีการจัดการขยะอย่างครบวงจร เป็นแบบอย่างให้พื้นที่อื่นได้ 4. ตำบลคอหงส์ มีชมรมเพื่อนช่วยเพื่อนที่เข้าไปดูแลผู้ป่วยผู้ด้อยโอกาสและดึงทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมด้วยมีการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
23
หัวข้อ : การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ (PCC)
ตัวชี้วัด ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัวที่เปิดดำเนินการในพื้นที่(Primary Care Cluster) ค่าเป้าหมายสะสม ร้อยละ 36 สถานการณ์ เป้าหมายการจัดตั้ง PCC แผน 10 ปี ของอำเภอหาดใหญ่ทั้งหมด 35 ทีม ปัจจุบันมี 12 ทีม คิดเป็น ร้อยละ 34.29 2560 เริ่มดำเนินการในเขตเมือง 3 ทีม ปี 2561 ขยายพื้นที่ 3 โซนนอกเขตเมือง จำนวน 9 ทีม ขึ้นทะเบียน PCC คุณภาพ(3S) ปี 2561 – 2562 จำนวน 12 ทีม(100 %) โดยมี CMU 3 ตำบล,CMU ควนลัง,และ CMU พะตง เป็นแม่ข่ายของแต่ละทีม ปี 2563 จะเปิดดำเนินการในเขตชานเมือง ที่ หมู่ 8 ตำบลคลองแห ขณะนี้อยู่ระหว่างการสร้างอาคาร ได้รับจัดสรรงบประมาณ 44 ล้านบาท จะแนะ ปัญหา / ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ - ประชากร 400,000 คน - การเข้าถึงบ้านและประชาชน ในชุมชนเขตเมือง ทำได้ยาก - ขาดแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว - ควรสร้างแรงจูงใจให้แพทย์ทำงานในระบบบริการปฐมภูมิมากขึ้น การสนับสนุนกรอบ กำลังคน ให้เพียงพอต่อการดำเนินงาน - พัฒนาทีมสหวิชาชีพให้มีคุณภาพ ตามแนวทางการดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัว ปัจจัยแห่งความสำเร็จ/ผลงานเด่น 1. เป็นแหล่งผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว 2. การบูรณาการการทำงานของ ทีมสหวิชาชีพใน PCC อย่างมีประสิทธิภาพ 3. มีความสัมพันธ์ที่ดีกับภาคีเครือข่ายการทำงานในชุมชน
24
ลดแออัด
25
จำนวนผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน เฉลี่ยต่อวัน ระยะเวลาที่ผู้ป่วยใช้ในรพ.
จำนวนผู้ป่วยนอก ปี 50-62 จำนวนประชากรในเขตรับผิดชอบ จ.สงขลา 1,453,276 อ.หาดใหญ่ 397,379 จำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นในคลินิกเฉพาะทาง ผู้ป่วยwalk in รายต่อวัน ปัญหาหน้างาน ผู้ป่วยอายุรกรรม ตรวจรักษาเลยเวลา16.30 น. ผู้ป่วยศัลยกรรม ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ ศัลยกรรมประสาท ห้องฉีดยา ทำแผล ห้องผ่าตัดเล็กอยู่ในOPD เดียวกัน หนาแน่นมากในช่วงเช้า ผู้ป่วยรอหน้าเวชระเบียนและการเงิน จำนวนผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน เฉลี่ยต่อวัน ระยะเวลาที่ผู้ป่วยใช้ในรพ. สรุปเวลารอบัตรนัดและไม่นัด พ.ย.2561 รวม นัด ไม่นัด รวมระยะเวลารอคอยแพทย์เฉลี่ย 44 25 62 รวมระยะเวลารอคอยรับบริการผู้ป่วยนอก 93 64 122 ระยะเวลารอคอยแพทย์เกิน 45 นาที 30.04% 13.34% 46.74% OPD
26
IPD CMI อัตราครองเตียง ปี61 (เตียงสามัญ) จำนวนผู้ป่วยในต่อปี
LOS IPD
27
ศูนย์บริการสาธารณสุข 2
Refer In OPD ER MRI/CT 2559 29,504 9,743 1,213 2560 30,070 9,778 1,602 2561 39,893 9,645 1,369 จำนวนผู้ป่วยนอกเพิ่มขึ้นทั้งในรพ.และปฐมภูมิ Excellent node ศูนย์ฯ สามชัย คลินิกเวชปฏิบัติ ครอบครัว ศูนย์ฯ ท.4 วัดคลองเรียน ศูนย์บริการสาธารณสุข 2 (เพชรเกษม) ศสม. สิทธิ UC 4 มุมเมือง CMU สามตำบล รพ สต คลองแห CMU ควนลัง What we have done CMU พะตง 4 โซนนอก
28
ควบคุมจำนวนต่อพื้นที่บริการ ระยะเวลาของผู้ป่วยที่ใช้บริการ: Waiting time ,LOS
Health literacy & primary care PCC Extended OPD No Walk In AppropiatedRefer in Smart Hospital & Lean OPD ระบบนัด online ระบบนัด Refer ระบบคิว ตู้คิวอัจฉริยะ ตู้จ่ายเงินอัตโนมัติ ขยายเวลานัดFU จำนวนผู้ป่วยต่อแพทย์ IPD ODS Refer back & HHC Intermediate care General nodes Excellent nodes Palliative care in community Flow out Flow in
29
รพ.บางกล่ำ เวชศาสตร์ฟื้นฟู
Master plans ตึก GP & GP ward Extended OPD Public Private Partnership แผนระยะยาว Intermediate care รพ.หาดใหญ่ – นาหม่อม รพ.บางกล่ำ เวชศาสตร์ฟื้นฟู SMC OPD / OR
30
Green & Clean ระดับดีมาก
DSC : Stroke center HA reacc 5 LA รอการรับรอง HIV คลินิกทันตกรรม Green & Clean ระดับดีมาก
31
ตรวจราชการ ระดับจังหวัด 1/2562 คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการ
32
community-acquired Sepsis
ขอบเขตการนำเสนอ RDU /AMR ยาเสพติด สุขภาพจิตและจิตเวช ปลูกถ่ายอวัยวะ CKD One Day Surgery Stroke community-acquired Sepsis โรคหลอดเลือดหัวใจ Trauma Intermediate care Palliative care โรคตา แพทย์แผนไทยและทางเลือก
33
ค่า Case Mix Index (CMI) โรงพยาบาลในจังหวัดสงขลา
ปีงบประมาณ 2562 (ณ วันที่ 6 ก.พ. 62)
34
การพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล จังหวัดสงขลา
- RDU Hospital เริ่มปี 60 -ขับเคลื่อนโดยกลไกคณะกรรมการ -ผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1 ปี 62 RDU ขั้นที่ 3 RDU ขั้นที่ 2 RDU ขั้นที่ 1 5 แห่ง ,29.41% 7 แห่ง ,41.18% แผนการดำเนินงาน -ประชุมคณะกรรมการ -แลกเปลี่ยนเรียนรู้ -จัดทำสื่อ/รณรงค์สร้างawareness ขั้นที่ 3 ระโนด ขั้นที่ 2 กระแสสินธุ์ สทิงพระ ขั้นที่ 1 ควนเนียง สิงหนคร คลองหอยโข่ง ปาดัง ขั้นที่ 3 นาทวี สะเดา ขั้นที่ 2 สะบ้าย้อย
35
การดำเนินงาน RDU จังหวัดสงขลา
36
KPI : ร้อยละของผู้ติดยาเสพติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดของแต่ละระบบ
และได้รับการ ติดตามดูแลต่อเนื่อง 1 ปี (Retention Rate) (เป้าหมาย 20 %) (ผลงาน %) ผลงาน ปี 2562 (ณ 31 ธ.ค. 2561) อำเภอ ผลงาน เป้าหมาย ร้อยละ เมืองสงขลา 7 17 41.18 สทิงพระ 0.00 จะนะ 1 10 10.00 นาทวี 2 เทพา สะบ้าย้อย ระโนด 3 4 75.00 กระแสสินธุ์ รัตภูมิ สะเดา หาดใหญ่ 15 6.25 นาหม่อม ควนเนียง บางกล่ำ สิงหนคร คลองหอยโข่ง 33.33 ปาดังเบซาร์ รวม 13 60 21.67 -สถานการณ์/สภาพปัญหา ปัจจุบัน กระท่อมระบาดในกลุ่มเด็กและเยาวชน เพิ่มมากขึ้น ในพื้นที่ อ.หาดใหญ่ สะเดา และเมืองสงขลา ส่วนยาบ้าและยาไอซ์ ลดลงจากปี 2561 -กลวิธี/มาตรการ ดูแล กำกับ และติดตามการดำเนินงานยาเสพติดในหน่วยบริการและร่วมบูรณาการงานยาเสพติดกับ ทุกภาคส่วนราชการ ปัจจัยความสำเร็จ - ผู้บริหารมีนโยบายที่ชัดเจน - ความมุ่งมั่นตั้งใจของผู้ปฎิบัติงานและ ทีมงานที่เข็มแข็ง ปัญหาอุปสรรค -ระบบรายงาน บสต. ยังไม่เสถียรและมีความคลาดเคลื่อน -มีการแพร่ระบาดของยาเสพติดเพิ่มมากขั้น -มีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบงานบ่อย ขาดความต่อเนื่อง ผลการดำเนินงาน (ไตรมาสแรก) 1. แต่งตั้งคณะกรรมปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2. พัฒนาศักยภาพผู้บำบัดหลักสูตร BA/BI รพ.สต. ใน อ.เทพา จะนะ นาทวี สะบ้าย้อย (ครบทุก รพ.สต.) 3. ร่วมดำเนินการคัดกรองและจัดทำค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมกับส่วนราชการปกครองใน 4 อ. 4. มีแนวทางและกำหนดเป้าหมายการดำเนินงาน CBTx แผนงานและโครงการ ปี2562 1. พัฒนาศักยภาพและผู้รับผิดชอบงานยาเสพติด 2. ขับเคลื่อนHarmReduction 3. ประชุมเตรียมเอกสารการขอรับรองคุณภาพ HA ยาเสพติดซ้ำ 4. อบรมระบบรายงาน บสต. ให้กับเครือข่าย 5. ร่วมทำหลักสูตรค่าย 35 วัน ตามนโยบายของแม่ทัพภาค4
37
การฆ่าตัวตาย 5 ปี จ.สงขลา ( ปีงบ57 – ปีงบ 62 (ไตรมาส)
อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ≤ (ผลงาน 1.35 ต่อประชากรแสนคน) การฆ่าตัวตาย 5 ปี จ.สงขลา ( ปีงบ57 – ปีงบ 62 (ไตรมาส) การฆ่าตัวตายสำเร็จแยกรายอำเภอ จ.สงขลา 2 3 1 สถานการณ์ อัตราฆ่าตัวตายมีแนวโน้มลดลง ไตรมาส 1 ปีงบฯ 62 ฆ่าตัวตายสำเร็จ 15 คน คิดเป็น ต่อประชากรแสนคน มี 2 อำเภอที่สูง คือ บางกล่ำและควนเนียง โดยมีเพศชาย>เพศหญิง 7 เท่า (13:2) มากที่สุด คือ วัยทำงาน (10คน) และ วัยสูงอายุ (4คน) วิธีการที่ใช้ คือ ผูกคอตาย (14คน) สาเหตุส่วนใหญ่ปัญหาความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิด มีผู้พยายามทำร้ายตัวเองซ้ำ 6 ราย ปัญหา/ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ - ผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จบางรายเป็นคนนอกพื้นที่ และไม่ได้อยู่ในระบบการรักษามาก่อน -การประชาสัมพันธ์ให้ ปชช. รู้ถึง สัญญาณเตือนของการฆ่าตัวตาย เพื่อมีการเฝ้าระวังเพิ่มขึ้น - มีผู้พยายามทำร้ายตัวเองซ้ำ 6 ราย - เพิ่มการเฝ้าระวัง ติดตามต่อเนื่องในผู้ที่เคยมีประวัติการทำร้ายตัวเองมาก่อน -บุคลากรและโครงสร้างการทำงาน -มีการขับเคลื่อนกรอบโครงสร้างอย่างจริงจัง พร้อมสนับสนุน อัตรากำลังบุคลากร ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น - ทีมสหวิชาชีพมีศักยภาพสูงและมุ่งมั่นในการทำหน้าที่ด้วยความเสียสละ มีระบบ Service plan เข้มแข็งทำงานเชิงรุก - มีกิจกรรมการส่งเสริม ป้องกันปัญหาฆ่าตัวตายเชิงรุก ผ่าน อสม.สุขภาพจิต,สถานประกอบการ และการคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงที่สำคัญ บูรณาการร่วมกับ พชอ.(สทิงพระ คลองหอยโข่ง)
38
Service Plan สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ
ผลการดำเนินงาน ยินยอมบริจาคอวัยวะ 65 คน และดวงตา 70 คน เสียชีวิตจากสมองตาย 2 คน ผู้เสียชีวิตจากโรงพยาบาลเป้าหมาย(หาดใหญ่) 1760 คน เสียชีวิต 4 ราย บริจาคดวงตา 4 คู่ /กระดูก 1 คน บริจาคไต 2 คู่/กระดูก ปลูกถ่ายไต 3 คน อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย ต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล (เป้าหมาย ≥ 0.8 : 100) คิดเป็นอัตราส่วน 0.11 อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคดวงตา ต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล (เป้าหมาย ≥ 1.3: 100) คิดเป็นอัตราส่วน 0.45 ข้อเสนอแนะ สนับสนุนงบ ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีในการบริจาคอวัยวะ ดวงตา ในภาพรวมของจังหวัด หรือเขต ชี้แจงให้แต่ละพื้นที่ทราบเกี่ยวกับงานรับบริจาคอวัยวะและดวงตาโดยครอบคลุมถึงโรงพยาบาลอำเภอทุกแห่ง
39
สูงกว่าค่า base line ของประเทศและเขต
ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้ป่วย CKD มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.72 m2/yr ≥ 66 ระโนด 60 สูงกว่าค่า base line ของประเทศและเขต รพ.นาทวี = , รพ.ปาดังเบซาร์ = รพ.จะนะ = ค่า base line สงขลา ปี 2561 = 58.95% กระแสสินธุ์ 50 สทิงพระ 25 ปัญหาและอุปสรรค 1.การคัดกรองโรคไตในผู้ป่วย โรค HT/ DM ทำได้ไม่ทั่วถึงทำให้การชะลอการเสื่อมของไตเริ่มต้นได้ช้าเกินไป 2.การบันทึกข้อมูลยังไม่ครบถ้วน ถูกต้อง สิงหนคร 42.86 ควนเนียง เมืองสงขลา 56.25 รัตภูมิ บางกล่ำ 54.2 50 นาหม่อม หาดใหญ่ 58.13 51 จะนะ คลองหอยโข่ง 37.5 66.67 เทพา กิจกรรมสำคัญ ปี 2562 1.เร่งรัดการคัดกรองโรคไตในผู้ป่วย โรค HT/ DM 2.จัดให้มีการอบรม เสริมทักษะ การบันทึกข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล ที่สามารถนำไปใช้ในการดำเนินงาน 61.11 ปาดังเบซาร์ นาทวี 72.6 74.51 สะบ้าย้อย 36.84
40
One Day Surgery(ODS) KPI วิเคราะห์ข้อมูล
การดำเนินงาน จังหวัดสงขลาดำเนินงานใน 2 รพ. คือ รพ.หาดใหญ่ และ ร.พ.สงขลา จัดตั้งศูนย์ ODS (พร้อมผ่านการประเมิน จากกรมแพทย์ ในการให้บริการทั้ง 12 กลุ่มโรค) ขอรับค่าใช้จ่ายจาก สปสช ผ่านโปรแกรม e-Claim กลุ่มโรค ODS (ข้อมูลไตรมาสแรก (ต.ค. - ธ.ค.61) ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ ODS รพ.หาดใหญ่ รพ.สงขลา ภาพรวมจังหวัด (A) (B) ร้อยละ Inguinal hernia 9 58 15.52 11 45 24.44 20 103 19.42 Hydrocele - 2 2 100 2 100 Hemorrhoid 1 - - Esophagogastric varices (Esophageal varices,Gastric varices) 19 Colorectal polyp (colonic, rectal polyp) 11 14 17 82.35 25 28 89.29 ภาพรวม 40 89 44.94 27 64 42.19 67 153 43.79 จุดเด่น - ลดอัตราการคลองเตียงได้มากขึ้น - ผู้รับบริการพึงพอใจ มีความสะดวก และลดค่าใช้จ่ายลงได้ ปัญหา จาก รพ.สงขลา ข้อเสนอแนะที่ให้ต่อ หน่วยรับตรวจ เครื่องมือผ่าตัดไม่เพียงพอ สนับสนุนเครื่องมือผ่าตัดโดยเฉพาะกล้องตรวจลำไส้ใหญ่ การเบิกจ่ายค่าบริการจาก สปสช. ประสาน สปสช. ปรับปรุงโปรแกรม e-claim กรณี “ให้บริการอย่างน้อย 6 ชม.” เปลี่ยนเป็น “ให้บริการอย่างน้อย 2 ชม.” วิเคราะห์ข้อมูล รพ.หาดใหญ่บริการครบ 12 โรค
41
ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (เป้าหมายร้อยละ 18.5) (ผลงาน 15.17) อำเภอ บริการPt. นอก(ครั้ง) บริการแพทย์ แผนไทย (ครั้ง) ร้อยละการรับบริการ เมืองสงขลา 170,782 26,435 15.48 สทิงพระ 45,181 3,265 7.23 จะนะ 99,823 17,300 17.33 นาทวี 87,083 9,910 11.38 เทพา 64,882 12,808 19.74 สะบ้าย้อย 63,629 11,591 18.22 ระโนด 63,076 13,206 20.94 กระแสสินธุ์ 12,364 1,452 11.74 รัตภูมิ 59,066 12,999 22.01 สะเดา 95,047 10,937 11.51 หาดใหญ่ 238,841 32,529 13.62 นาหม่อม 23,003 3,696 16.07 ควนเนียง 28,690 4,251 14.82 บางกล่ำ 25,567 4,034 15.78 สิงหนคร 58,525 10,048 17.17 คลองหอยโข่ง 19,297 727 3.77 ภาพรวม 1,154,856 175,188 15.17 สถานการณ์ ร้อยละผู้ป่วยนอก 15.17 ร้อยละการใช้ยาสมุนไพร 4.09 จำนวนแพทย์แผนไทยในจังหวัด 73 ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ สัดส่วนแพทย์แผนไทยต่อประชากรยังน้อย บุคลากรสาธารณสุข ขาดความเชื่อมั่นและความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาแผนไทย ราคายาสมุนไพรค่อนข้าง มีราคาสูงเมื่อเทียบกับยาแผนปัจจุบัน ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด ร้อยละ 18.5 ยังไม่ผ่านเกณฑ์แต่อยู่ในระดับภาพรวมจังหวัด (มากกว่าร้อยละ 15) ตกเกณฑ์ตัวชี้วัดและต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของจังหวัด
42
อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และระยะเวลาที่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม
มาตรการสำคัญ ตัวชี้วัดที่ เป้าหมาย B A ร้อยละ … ร้อยละอัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ/อุดตัน (I63) <5 636 39 6.13 ร้อยละอัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก (I60-I62) <25 119 19 15.97 ร้อยละอัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) < 7 408 15 3.68 ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ที่มีอาการไม่เกิน 72 ชั่วโมงได้รับการรักษาใน Stroke Unit (%SU) มากกว่าหรือเท่ากับ รพ.หาดใหญ่ 241 211 87.55 รพ.สงขลา 24 16 66.67 ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ตีบ/อุดตันระยะเฉียบพลัน (I63) ที่มีอาการไม่เกิน 4.5 ชั่วโมง ได้รับการรักษาด้วยยาละลาย ลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดาภายใน 60 นาที door to needle time) (%DTN) มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 50 51 47.06 86 32 37.12 ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง แตก (I60-I62) ได้รับการผ่าตัด สมองภายใน 90 นาที (door to operation room time) (%DTOR) 84 12 14.29 0.00 การรณรงค์ เรื่อง Stroke Alert ที่ทำให้ประชาชนตระหนักและเข้าถึงอาการของโรคหลอดเลือดสมอง และเข้ารับการรักษาที่ทันเวลา ลดอัตราการตาย และความพิการ รวมถึงการสนับสนุนองค์กรและผู้นพชุมชนให้มีส่วนร่วมในการรณรงค์ การพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ แพทย์ พยาบาล บุคลากรทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับเวชศาสตร์ฉุกเฉิน การพัฒนาเครือข่าย โรงพยาบาลแม่ข่าย และลูกข่าย ให้มีการเชื่อมต่อระบบบริการ ทั้งในเรื่องการรักษาและการส่งต่อ ที่มาข้อมูล : HDC รพ หาดใหญ่ สงขลา ตัวชี้วัดที่ เป้าหมาย Small Success คำอธิบาย (ระบุกิจกรรมที่ดำเนินการ) ผลงาน หน่วยร้อยละ หมายเหตุ ปีงบฯ 2562 3 เดือน 6. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และระยะเวลาที่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม 6.1. ร้อยละอัตราตายของผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมองตีบ/อุดตัน (I63) น้อยกว่าร้อยละ 5 - -การตายด้วยสาเหตุโรคหลอดเลือดสมองตีบ/อุดตัน (I63) ผู้ป่วยในจำหน่ายจากโรงพยาบาลด้วยโรค หลอดเลือดสมองตีบ/อุดตัน (I63) 191 7 3.66 6.2 ร้อยละอัตราตายของผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมองแตก (I60-I62) น้อยกว่าร้อยละ 25 -ผู้ป่วยในที่Admit ตั้งแต่ 4 ชั่วโมงขึ้นไปที่มี Principal Diagnosis เป็นโรคหลอดเลือดสมองแตก ผู้ป่วยในจำหน่ายจากโรงพยาบาลด้วยโรค โรคหลอดเลือดสมองแตก (I60-I62) 52 8 15.38 6.3 ร้อยละอัตราตายของผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมอง (I60-I69) น้อยกว่าร้อยละ 7 -ผู้ป่วยในที่Admit ตั้งแต่ 4 ชั่วโมงขึ้นไปที่มี Principal Diagnosis เป็นโรคหลอดเลือดสมอง ผู้ป่วยในจำหน่ายจากโรงพยาบาลด้วยโรค โรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) 332 17 5.12 6.4 ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ที่มีอาการไม่เกิน ชั่วโมงได้รับการรักษาใน Stroke Unit (%SU) มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 40 รบกวนขอข้อมูล ข้อ และ 6.6 นะคะ (อธิบาย) (โปรดระบุร้อยละ) 6.5 ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ตีบ/อุดตันระยะเฉียบพลัน (I63) ที่มี อาการไม่เกิน 4.5 ชั่วโมง ได้รับการ รักษาด้วยยาละลาย ลิ่มเลือดทาง หลอดเลือดดาภายใน 60 นาที (door to needle time) (%DTN) มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 50 6.6 ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง แตก (I60-I62) ได้รับการผ่าตัด สมองภายใน 90 นาที (door to operation room time) (%DTOR) มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 60
43
Service Plan สาขาอายุรกรรม
KPI : อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired น้อยกว่าร้อยละ 30 สงขลา กระแสสินธุ์ สทิงพระ สิงหนคร ควนเนียง รัตภูมิ บางกล่ำ หาดใหญ่ นาหม่อม จะนะ สะเดา นาทวี เทพา ระโนด สะบ้าย้อย คลองหอยโข่ง ผลการดำเนินงาน แผนพัฒนา ภาพรวมจังหวัด % (80/255case) 1.พัฒนาประสิทธิภาพการดูแลรักษาผู้ป่วย sepsis - ปรับปรุง CPG/ CNPG/ Standing Order พัฒนาทักษะบุคลากร ระบบ refer สร้างการมีส่วนร่วมเครือข่ายระดับชุมชนในการดูแลประชาชน 2. เพิ่มเตียง ICU และเครื่องมือวินิจฉัย เวชภัณฑ์ยา 33.33% (1/3) 37.8% (62/164) ข้อเสนอแนะ ปี 56 mortality rate 63 % (Pt จากรพช. ส่วนใหญ่เกิดจากวินิจฉัย ให้ยาปฏิชีวนะล่าช้า และสารน้ำที่ไม่เพียงพอ ปี มี CPG severe sepsis เน้นวินิจฉัย รวดเร็วถูกต้อง และการให้ ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมภายใน 1 ชม. การให้สารน้ำที่เพียงพอ ภายใน 2 ชม. มีใช้ใน รพ. เครือข่ายทุกแห่ง อัตราตายเริ่มลดลง ปี 61 เน้นการวินิจฉัยที่รวดเร็วทั้งผู้ป่วยในชุมชน และในร.พ. - พัฒนา รพ. M2 ให้มีหอผู้ป่วยวิกฤต และเป็นnode ในการดูแล รพช.F ใกล้เคียง - เพิ่มจำนวนเตียง ICU ในรพ. ระดับ A, S และ M - ขอสนับสนุนงบประมาณเพื่อจัดซื้อเครื่องตรวจ blood lactate - สนับสนุนงบการพัฒนาบุคลากร เช่น การอบรมเฉพาะทางการดูแลผู้ป่วยวิกฤต 40% (8/20) * ผังรพ.ในพื้นที่
44
โรคหัวใจ ผลงาน 10.8 กิจกรรมสำคัญปี 2562
อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (รหัส ICD -10 = I20 – I25(เป้าหมายไม่เกิน 26 ต่อแสนประชากร ) ผลงาน 10.8 สถานการณ์ ปี 60 อัตราตาย / ประชากร ปี 61 อัตราตาย / ประชากร ปัญหาและอุปสรรค 1.ระบบรายงาน Pt (Link/refer)ไม่ครอบคลุม จึงควรพัฒนาระบบ database 2.ขาดความต่อเนื่องในการติดตามเครือข่ายประชาชน กิจกรรมสำคัญปี 2562 -พัฒนาระบบ refer ,ระบบ STEMI Fast track ใน รพ.ทุกระดับ -พัฒนาศักยภาพ รพ.ชุมชน ในการดูแลผู้ป่วย NSTEMI
45
ตัวชี้วัด อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยฉุกเฉิน (Triage Level 1)ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาล A,S <12% อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ในรพ. A,S = % โรงพยาบาล รายการข้อมูล จำนวนผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินที่เสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมง (A) จำนวนผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินทั้งหมด (B) อัตราการเสียชีวิต ของผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน (A/B) x 100 โรงพยาบาลหาดใหญ่ A 6 42 14.29 โรงพยาบาลสงขลา S 7 34 20.59 ภาพรวมจังหวัด - รอบ 1 (ข้อมูล ต.ค.61 – 18ม.ค.62 ) 13 76 17.10 จังหวัดสงขลาไม่มี รพ. M 1 อัตราการเสียชีวิต ใน รพ. A , S ไม่มี รพ.ผ่านเกณฑ์ ผู้เจ็บป่วยเสียชีวิตจากแฟ้ม DEATH,S ERVICE,ADMISSION ภายใน 24 ชั่วโมง รวมถึงการเสียชีวิตในห้องฉุกเฉิน จาก HDC ประมวลผล :: 18 ม.ค. 62 ปัญหาและอุปสรรค - ข้อมูลใน HDC ไม่ตรงกับข้อมูลจริง
46
Intermediate Care KPI : ร้อยละของสถานพยาบาลระดับ M และ F ที่ให้บริการดูแลระยะกลาง ร้อยละ 50 (ผล26.67) สถานการณ์ ผู้ป่วย Stroke, Traumatic Brain Injury และ Spinal Cord Injury มีคะแนน 15 >Barthel index>15 with multiple impairment ได้รับการบริบาลฟื้นสภาพระยะกลางและติดตามจนครบ 6 เดือน หรือจน Barthel index = 20 (ผล 81.61%) เมืองสงขลา กระแสสินธุ์ สทิงพระ สิงหนคร ควนเนียง รัตภูมิ บางกล่ำ หาดใหญ่ นาหม่อม จะนะ สะเดา นาทวี เทพา ระโนด สะบ้าย้อย คลองหอยโข่ง ให้บริการ IMC โดยทีมเวชกรรมฟื้นฟูครบทุกวิชาชีพ ใน รพช. 4 แห่ง ตามผัง ส่วนรพช. อื่นๆ ส่งต่อให้นัดกายภาพบำบัดดูแลภายใต้ SPจังหวัด โรงพยาบาล (A) (B) ร้อยละ หาดใหญ่ 25 28 89.28 สงขลา 89 151 58.94 สมเด็จฯ ณ อ.นาทวี 10 11 90.90 ระโนด 5 6 83 สทิงพระ 3 4 75 จะนะ 47 11.75 เทพา 40 56 71.00 สะบ้าย้อย 16 68.75 กระแสสินธุ์ 0.0 0.03 รัตภูมิ 13 38.46 สะเดา 32 29 90.63 นาหม่อม 7 9 77.78 ควนเนียง 26 2.86 ปาดังเบซาร์ 71.43 บางกล่ำ 27 96.42 สิงหนคร 2 66.67 คลองหอยโข่ง 17 64.71 ภาพรวมจังหวัด 333 408 81.61 ข้อเสนอแนะ -จัดสรรตำแหน่งข้าราชการนักกายภาพ นักกิจกรรมบำบัด พยว.ตามกรอบ FTE -สนับสนุนหลักสูตรผู้ช่วยกายภาพ/กิจกรรมบำบัด/ฝึกพูดระดับเขต -จัดอบรมพยาบาลฟื้นฟูระดับเขต หลักสูตร 5 วัน และ 4เดือน อย่างน้อยจังหวัดละ 1 คน สนับสนุนครุภัณฑ์ที่จำเป็น -เพิ่มเงิน top up ในผู้ป่วย SNAP ของเขต 12 -ผลักดันDRG/IP rate พิเศษที่เหมาะสมสำหรับการให้บริการ IMC -พัฒนาระบบ IT มาช่วยในการเก็บฐานข้อมูล เชื่อมโยงฐานข้อมูลระดับรพ.และเขต ข้อจำกัด
48
Service Plan Palliative Care 62 จ.สงขลา
เข้าถึงบริการ ประสานเป็นหนึ่ง ลึกซึ้งคุณภาพ ใส่ใจทุกมิติ อย่างเป็นองค์รวม 1.กลุ่มเป้าหมาย Cancer(PPS ≤ 50), CKD stage5, Stroke, COPD ,CHF, Dementia, กลุ่มอายุ 0-15, >60ปี ตามข้อวินิจฉัย 2. ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย: ร้อยละการบรรเทาอาการปวดและจัดการอาการต่างๆด้วย Strong Opioids ร้อยละ 40 3.สถานการณ์ 5.ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา มีผู้ป่วยระยะท้ายที่อยู่ในเกณฑ์ที่ควรได้รับการดูแลแบบประคับประคองทั้งหมด 894 คน ผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์และได้รับการดูแลแบบประคับประคอง จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ 97.20 ( ข้อมูล ณ ต.ค. – ธ.ค. 61 ) การดูแลผู้ป่วย palliativeในชุมชน (รพ.ควนเนียง) มีเครือข่ายส่งต่อผู้ป่วย PCทั้งจังหวัด มีบุคลากรPC ทุกรพ. ร้อยละเฉลี่ยการใช้ strong opioid 56.8(ตค-ธค.62) 6.ปัญหาอุปสรรค การข้าถึงบริการขึ้นกับแพทย์เจ้าของไข้ PC ส่วนใหญ่เป็น end of life care บุคลากร PC ทำงานเป็นงานเสริม ไม่มีแพทย์จบเฉพาะทาง อุปกรณ์ที่บ้านไม่เพียงพอ บางรพ.ไม่มีนโยบายใช้ยาฉีดopioid นอกรพ. นโยบายหรือมาตรฐาน PC ไม่ชัดเจน ไม่เชื่อมโยง Service plan 4.ตัวชี้วัดคุณภาพ มีแพทย์ พยาบาล เภสัชที่ผ่านการอบรมPC ทุกรพ มีระบบวินิจฉัยผู้ป่วย PC ตามเกณฑ์ และการให้บริการ มีเครือข่ายและคลังอุปกรณ์ดูแลที่บ้าน ร้อยละ 80 ผู้ป่วยได้รับยาและอุปกรณ์ที่จำเป็นใช้ที่บ้าน ร้อยละ 50 ของผู้ป่วยระยะสุดท้ายและครอบครัวได้รับการวางแผนล่วงหน้า ร้อยละ 100 ผู้ป่วยระยะสุดท้ายได้รับการส่งต่อ และดูแลอย่างต่อเนื่อง ภาพรวมของตัวชี้วัดคุณภาพของรพ.ในจ.สงขลาปี61และ62 (3เดือน)ผ่านเกณฑ์ แต่เป็นตัวชี้วัดเฉพาะผู้ป่วยที่เข้ากระบวนการPC ไม่ครอบคลุมผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายที่เข้าไม่ถึงบริการ 7.มาตรการหลักแนวทางการแก้ไขปัญหา ปี 2562 -บูรณาการระบบงาน IT ฐานข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อเพิ่มกลุ่มผู้ป่วยเป้าหมายให้เข้าถึงบริการ -การพัฒนาการจัดการอาการรบกวนผู้ป่วย PC ใน รพช. ได้แก่ พัฒนาแพทย์ รพช.ให้มีทักษะการจัดการอาการรบกวน โดยเฉพาะ ความปวด หายใจเหนื่อย ดูแลผู้ป่วยวาระสุดท้าย -จัดทำบัญชียาดูแลอาการรบกวน มีการใช้ syringe driver และนโยบาย ยาฉีด opioid ออกนอกรพ.ในทุก รพช. -พัฒนา รพ.สต.ในการประเมินผู้ป่วยเพื่อสื่อสารในการปรึกษาการดูแลผู้ป่วย -การพัฒนา community PC
49
คณะที่ 2 การพัฒนาระบบริการ Service Plan สาขาตา
อำเภอ รายการข้อมูล จำนวนผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองสายตา (A) จำนวนผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปทั้งหมด (B) ร้อยละผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองสายตา (A/B)*100 1.เมืองสงขลา 11,331 100.00% 2.สทิงพระ 3,424 3.จะนะ 8,256 8,254 99.98% 4.นาทวี 7,541 5.เทพา 8,718 6,399 73.40% 6.สะบ้าย้อย 5,955 7.ระโนด 7,990 7,989 99.99% 8.กระแสสินธุ์ 2,083 2,082 99.95% 9.รัตภูมิ 7,576 10.สะเดา 7,190 6,737 93.70% 11.หาดใหญ่ 18,058 18,053 99.97% 12.นาหม่อม 3,777 13.ควนเนียง 2,296 14.บางกล่ำ 3,583 15.สิงหนคร 9,552 9,548 99.96% 16.คลองหอยโข่ง 2,597 รวม 109,927 107,142 97.47% สถานการณ์ : สถานการณ์ปัญหาทางจักษุเขตสุขภาพที่ 12 พบว่าประชากรไทยมีความชุกของตาบอดร้อยละ 0.59 สายตาเลือนราง ร้อยละ 1.57 โดยสาเหตุสำคัญของภาวะตาบอด คือ ต้อกระจกร้อยละ 51 ต้อหินร้อยละ 9.8 ภาวะตาบอดในเด็กร้อยละ 5.7 เบาหวานเข้าจอ ตา ร้อยละ 2.5 และเกิดจากกระจกตาขุ่นร้อยละ 2.09 จังหวัดสงขลามีผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) จำนวน 146,048 ราย โดย ในปี 2561 ได้รับการคัดกรองสายตา จำนวน 135,478 ราย คิดเป็นร้อย ละ เป็นผู้ป่วยBlinding cataract จำนวน 1,497 ราย ได้รับการ ผ่าตัดภายใน 30 วัน จำนวน 1,139 ราย คิดเป็นร้อยละ และในปี (ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 –10 มกราคม 2562) ได้รับการคัดกรอง สายตาจำนวน 386 คน คิดเป็นร้อยละ 0.26 เป็นผู้ป่วย Blindingcataract จำนวน 386 ราย ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน จำนวน 308 ราย คิดเป็นร้อยละ 79.79 Key Risk Area/ Key Risk Factor 1. การสร้างความเข้มแข็งของระบบการคัดกรองและส่งต่อผู้ป่วยโรคตาในชุมชน 2. การนำเข้าข้อมูลประชากรในโปรแกรม Vission2020 และการส่งออกข้อมูลการคัดกรองเข้าโปรแกรม Vision2020 ปัญหา/ข้อจำกัด การสร้างความเข้มแข็งของระบบการคัดกรองและส่งต่อผู้ป่วยโรคตาในชุมชน หน่วยบริการ รายการข้อมูล จำนวนผู้ป่วยต้อกระจกชนิดบอด (Blinding Cataract)ที่ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน (A) จำนวนผู้ป่วยต้อกระจกชนิดบอด (Blinding Cataract)ที่ได้รับการวินิจฉัย(B) ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจกชนิดบอด (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน (A/B)*100 ภาพรวมจังหวัด 813 308 37.88 ข้อเสนอแนะ การพัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกระดับ เพื่อวางแผนการจัดบริการแบบมีส่วนร่วมเพื่อเพิ่มความครอบคลุมบริการในประชาชน
50
การพัฒนาระบบริการ Service Plan สาขาโรคมะเร็ง
สถานการณ์ : จากสถิติข้อมูลทะเบียน มะเร็งระดับโรงพยาบาล จังหวัดสงขลา พบ ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ดังนี้ CA Colorectal, 2. CA Breast, 3. CA Liver and bile duct, 4. CA Trachea brochus and lung และ 5. CA Cervix (ข้อมูลทะเบียนมะเร็ง ณ วันที่ 1 ต.ค.61 – 10 ม.ค.62) ตัวชี้วัดระยะเวลารอคอย ของมะเร็ง 5 อันดับแรก เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 2559 2560 2561 2562 (ตค-มค) 1.จำนวนผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ ราย 221 157 167 50 2.จำนวนผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ 69 73 52 18 3.จำนวนผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักรายใหม่ 161 127 178 59 4.จำนวนผู้ป่วยมะเร็งปอดรายใหม่ 176 150 177 25 5.จำนวนผู้ป่วยมะเร็งตับรายใหม่ 109 ภาพรวมของมะเร็ง 5 อันดับแรก 1. ร้อยละของการรอคอยผลชิ้นเนื้อภายในระยะเวลา 2 สัปดาห์ (ร้อยละ 80) 539 457 543 136 ผลงาน 529 453 504 134 ร้อยละ 98% 99% 93% 2. ร้อยละของผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ (ร้อยละ 80 ) 268 232 251 70 141 48 53% 58% 56% 69% 3. ร้อยละของผู้ป่วยได้รับยาเคมีบำบัดภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ (ร้อยละ 80 ) 348 307 271 78 284 194 55 74% 72% 71% 4. ร้อยละของผู้ป่วยได้รับรังสีรักษาภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ (ร้อยละ 80 ) 17 39 16 2 10 20 9 59% 51% 100% ปัญหา/ข้อจำกัด การดำเนินงานทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล (Hospital-Based Cancer Registry) ยังไม่เป็นระบบ ขาดผู้รับผิดชอบชัดเจน (ปัจจุบันพยาบาลวิชาชีพเป็นผู้ key โปรแกรม Thai Cancer Based ในส่วนของการทำทะเบียนมะเร็งระดับประชากร (Population- Based Cancer Registry) ยังไม่ได้ดำเนินการ 2. ขาดแพทย์อายุรกรรมโรคมะเร็ง (onco med.) แผนพัฒนา ปี 2562 1 พัฒนาให้โรงพยาบาลนาหม่อมเป็นศูนย์รังสีรักษาของเขต โดยใช้ชื่อว่า โรงพยาบาลหาดใหญ่-นาหม่อม ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีเครื่องฉายรังสี แต่อาคารสร้างเสร็จแล้ว จึงวางแผนให้บริการผู้ป่วยที่รับยาเคมีบำบัดทั้งประเภทผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก(day care) ภายในเดือนมีนาคม 2562 2 พัฒนาศูนย์ส่องกล้องโรงพยาบาลหาดใหญ่ 3 พัฒนาศักยภาพพยาบาลผู้ประสานการดูแลผู้ป่วยมะเร็ง (CNC) และพยาบาลผู้ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Palliative care nurse) เพื่อให้ผู้ป่วยมะเร็งได้รับการดูแลตามแผนการรักษาอย่างต่อเนื่อง 4 พัฒนาการทำทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.