SCRIPTWRITING การเขียนบท

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "SCRIPTWRITING การเขียนบท"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 SCRIPTWRITING การเขียนบท

2 ขั้นตอน Process การแสดงความคิดที่หลากหลายและจดบันทึกไว้ (การระดมความคิด) เลือกมาหนึ่งความคิด การเขียนความคิดใน2 ประโยค (ภาพโดยรวม) การเขียนวางโครงเรื่อง การเขียนบทโครงขยาย บทสมบูรณ์

3 วิธีปฏิบัติ ให้คิดในหลายๆเรื่องหลายแบบ สำหรับหนังสั้น Think of as many ideas for a short movie. เลือกหนึ่งความคิดและ เขียนเป็น 2 ประโยค Choose one and write it in 2 sentences.

4 บทโครงร่าง โครงร่างจัดเรียงแนวคิด เรื่องราวโดยไม่มีรายละเอียดมาก
ตัวอย่างเช่น: (template on worksheet) อะไรคือเหตุผลสำหรับฉากนี้ ฉาก แนะนำตัวละครหลัก โฟรโดเป็นฮอบบิทหนุ่มกำลังเดินอยู่ในไชร์

5 วิธีปฏิบัติ With your candle story, เขียนโครงร่าง

6 บทโครงขยาย โดยทั่วไปบทขยาย จะถูกเขียนขึ้นเพื่อรับการอนุมัติสำหรับสคริปต์ Usually a treatment is written to get approval for a script. เขียนบทขยายลงในกระดาษประมาน 1หน้าเพื่อบอกว่าจะเกิดอะไรขึ้นบ้างบน หน้าจอ โดยไม่มีบทพูด Write in one page or less what will happen on screen without dialogue. รวมตัวเอกและแรงบันดาลใจ แนวคิดหลัก การจัดฉาก Include hero and motivations, main idea, setting.

7 ตัวอย่างบทโครงขยาย Lord of the Rings:
มันเป็นเช้าฤดูใบไม้ผลิที่เงียบสงบในชนบท โฟรโด ฮอบบิทหนุ่มมาพบ กับแกนดัล์ฟ พ่อมด ซึ่งให้แหวนแก่เขา It’s a calm spring morning in the countryside and Frodo, the young hobbit, meets with Gandalf the wizard, who gives him an old ring. ..

8 5 ปัจจัยด้านสคริปต์ โครงสร้างเรื่อง แนวคิดและธีม ตัวละคร ภาพลักษณ์
บทสนทนา

9 โครงสร้างเรื่อง เรื่องย่อ คือ การลำดับเหตุการณ์เพื่อจะบอกเล่าเรื่องราว Plot is the sequence of events that tell the story ต้องจัดเตรียมสถานที่อยู่เสมอ Always takes place in a setting เรื่องราวมักจะเป็นไปตามโครงสร้างของหนังซึ่งมักจะมีจุดสูงสุดและ ต่ำสุด Usually follows a dramatic structure of high and low points. In Genesis 1, God creates the structure and order of the universe before the details. We do the same with scripts. First we think about how the story will be structured, then we fill it in with dialogue, rearrange scenes, remove characters. The details will change, but the basic premise remains intact.

10 7 โครงเรื่องพื้นฐาน การต่อสู้กับสัตว์ประหลาด: ตัวเอกเรียนรู้จากความชั่วร้ายที่ยิ่งใหญ่และเดินทางไปทำลายมัน Fighting the Monster: The hero learns of a great evil and goes on a journey to destroy it. จากยากจนไปเป็นมั่งมี: เป็นคนจน / คนเศร้าตอนเริ่มต้น และก็จบลงอย่างมีความสุขตลอดไปใน ตอนจบ Poor to Rich: A poor/sad person at the start ends in a happily ever after. การเดินทาง: ตัวเอกเดินทางไปเพื่อค้นหาบางสิ่งบางอย่างหรือใครสักคน The Journey: The hero goes on a journey to find something or somebody. การเดินทางและการกลับมา: ตัวเอกไปยังสถานที่ต่างๆและกลับมาดีกว่าเดิม Journey and Return: The hero goes to a different place and comes back better off.

11 7 โครงเรื่องพื้นฐาน ตลกโรแมนติก คนสองคนที่ไม่สามารถอยู่ด้วยกันได้ แต่พวก เขาตกหลุมรักกัน และเจอปัญหาตลกๆมากมาย แต่ในที่สุดพวกเขาก็รักกัน Romantic Comedies Two people can’t be together, but they fall in love which creates all sorts of funny problems. They eventually work it out. โศกนาฎกรรม คือทุกๆอย่างเริ่มต้นด้วยดีและจบลงด้วยความเลวร้าย Tragedies are where everything starts off good and ends up bad. การเกิดใหม่ เป็นเหมือนโศกนาฏกรรม แต่ตัวเอกรู้ข้อผิดพลาดของเขาก่อนที่จะสายเกินไป และ ได้กลับตัว กลายมาเป็นคนที่ดี Rebirth is like a tragedy but where the hero realizes his error before it’s too late and become a better person.

12 วิธีปฏิบัติ ดูตัวอย่างวิดีโอและบอกประเภทของโครงเรื่อง Watch the example videos and say what plot type they are. Use vlc player.

13 ทิศทางโครงเรื่อง Plot Setting
การ setting คือสภาพแวดล้อมเวลาลสถานที่ของเรื่องราว Setting is the environment, time and location of story. สถานที่: อยู่ที่ไหน. Place: Where is it? เวลา: เมื่อไหร่. Time: When is it? สภาพอากาศ: ฝนตก แดดจัด ฯลฯ ? Weather: Is it rainy, sunny etc.? สภาพสังคม: ชีวิตประจำวันของตัวละครเป็นอย่างไร? ความเป็นอยู่ ? การแต่ง กาย? Social Conditions: What is the daily life of characters like? Is there local colour? Like costumes? อารมณ์ / บรรยากาศ: ความสดใสและความสุข? มืดหม่นและเศร้าหมอง? Mood/Atmosphere: Is it bright and happy? Dark and gloomy? ดูวิดีโอ victoria.flv. Watch the young victoria.flv video

14 โครงสร้างเรื่องพื้นฐาน
บทนำเริ่มต้นไปยังตัวละคร Introduction to Character ปัญหาเข้ามา Problem comes การตอบสนองของตัวเอก Hero reacts ปัญหาเพิ่มขึ้น More problems จุดต่ำสุด Low point การกอบกู้ Recovery point จุดสำคัญหรือไคลแมกซ์ Climax ตอบจบ Resolution

15 1. บทนำ แสดงบุคลิกของตัวละครหลัก Show main character personality
แสดงชีวิตประจำวันของพวกเขา Show what is normal for their life โดยทั่วไป ตัวละครหลักมีความสุขหรือมีชีวิตปกติ Usually the main character is happy and normal สุดท้ายปัญหาก็เข้ามา Ends when the problem comes ไม่มากเกิน 5 นาที Not more than 5 minutes.

16 2. ปัญหา / แรงกระตุ้น มีบางสิ่งเข้ามาในโลกของตัวละครหลักและเปลี่ยนทิศทางชีวิตของพวกเขา Something new enters the world of the main character and changes their life direction. อาจจะเป็นการคุกคามชีวิต ครอบครัวหรือแม้แต่โลกทั้งใบ Can be threatening to life, family, or even the whole world ในหนังตลกโรแมนติก อาจจะเป็นผู้ชายหรือผู้หญิงคนใหม่ In romantic comedy it can be a new boy or girl

17 3. การตอบสนองของตัวหลัก
ตัวเอกมักจะต้องมีการตอบสนอง และการเลือกของพวกเขาทำให้เกิด เรื่องราวต่างๆเกิดขึ้น The hero must react and their choice makes the story

18 4. ปัญหาที่เพิ่มขึ้น หากไม่มีความขัดแย้ง เรื่องราวก็จะน่าเบื่อ If there is no conflict, the story is boring ความขัดแย้งอาจมาจากภายนอก เช่น สึนามิ หรือภายใน เช่นความไม่มั่นใจ เรื่องที่ดีมักจะมีทั้งสองสิ่ง Conflict can be from outside e.g. tsunami or inside e.g low confidence. Good stories often mix both. ความขัดแย้งอาจเป็น Conflict can be: ระหว่างคนกับการถูกทำร้ายร่างกาย(คนอื่นๆหรือภัยพิบัติ) Man vs. Physical Forces: Other men or disasters ระหว่างคนกับสถานการณ์(โชคชะตาหรือเวรกรรม) Man vs. Circumstances: destiny or fate ระหว่างคนกับสังคม(การแข่งขันกับไอเดีย(ความคิด)หรือประเพณีของคนอื่นๆ) Man vs. Society: struggles with the ideas or customs of other people ระหว่างคนกับตัวเอง(ปัญหาทางจิต) Man vs. Himself: psychological issues การปฏิบัติ : การระบุความขัดแย้งจากวิดีโอตัวอย่าง Practice: identifying the conflicts from the example videos

19 5.จุดต่ำสุด Low point สถานการณต้องดูเหมือนว่าจะเป็นไปไม่ได้และจุดจบของตัวเอกเหมือนว่า จะพ่ายแพ้ The situation must seem impossible and the goal of the hero must seem to be lost

20 6.การกอบกู้คืน Recovery
มักจะเป็นทางออกที่สร้างความแปลกใจหรือเป็นแรงบันดาลใจ Usually a surprise solution or inspiration ตัวหลักลุกขึ้นเผชิญการความท้าทาย. The hero rises to the challenge

21 7. ไคลแมกซ์ หรือจุดสำคัญ (Climax)
มักจะเป็นส่วนตื่นเต้นเร้าใจของหนัง Must be most dramatic part of movie โดยปกติจะเป็นการแก้ไขธีมหรือตัวบท Usually solves the theme เมื่อผ่านส่วนนี้ไปแล้วไม่ควรจะมีปัญหาเพิ่ม จะเป็นเพียงบทสรุป After the climax there should be no more problems, just conclusion

22 8. ตอนจบ Resolution แก้ไขปัญหาเดิม Fixes the original problem
แสดงถึงตัวบทหรือธีมที่ชัดเจน Clearly shows theme แสดงชีวิตใหม่ของตัวละครนั้น Shows new normal life of character

23 จุดสูงสุดและจุดต่ำสุด (High & Low points)
7. ไคลแมกซ์ หรือจุดสำคัญ Climax 4.ปัญหาเพิ่มขึ้น More problems 2.ปัญหา Problem 8.ตอบจบ Resolution 3.การตอบสนอง ของตัวหลัก Hero react 6.การแก้ปัญหา หรือกู้คืน Recovery 1.บทนำ (จุดเริ่มต้น) Intro 5.จุดต่ำสุด Low point

24 ตัวบทหรือธีม(Theme) ธีมหรือตัวบทเป็นความลับที่ลึกซึ้งต่อภาพยนตร์ของคุณ ทุกอย่างใน ภาพยนตร์ เช่น รูปภาพ การเคลื่อนไหว และเสียง ล้วนมีความหมายที่ลึกซึ้ง ยิ่งขึ้น ตัวอย่าง: สัมผัสที่ 6 - ธีมลับคืออะไร? Example: 6th sense - what is the secret theme? ธีมทั่วไป Common themes (ยกตัวอย่าง): ความรักทำให้คนตาบอด. Love is blind เชื่อในตัวคุณเอง. Believe in yourself สิ่งต่าง ๆ ไม่ได้เป็นอย่างที่เห็น. Things aren’t always what they seem เงินจะไม่ได้ทำให้คุณมีความสุข. Money won’t make you happy

25 ตัวละคร(Characters) เรื่องราวจะเกี่ยวกับตัวละครและวิธีตอบสนองต่อเหตุการณ์ต่างๆ Story is about characters and how they respond to events ทุกๆเรื่องราวต้องมีการเปลี่ยนแปลง – จากความสิ้นหวังสู่ความหวัง, ติด คุกสู่อิสระภาพ เป็นต้น Every story must have change - from despair to hope, prison to freedom etc. ทุกๆตัวหลักจะต้องมีเป้าหมายและเนื้อเรื่องจะเล่าถึงการพยายามไปยัง เป้าหมายนั้น แม้ว่าตอนจบจะไม่ได้เป็นไปตามเป้าหมายที่ตัวหลักต้องการ แต่ตัวละครหลักควรจะมีความสุขในตอนจบ Every main character has a goal and the story is about going to that goal. Even if the end is not that goal, the main character should be happy with the ending.

26 ฮีโร่หรือตัวเอก (Hero)
เป็นตัวละครหลัก อาจมีมากกว่าหนึ่ง Is the main character. There can be more than one. เราจะเห็นเรื่องราวจากมุมมองของพวกเขา We see the story from their POV ต้องมีเป้าหมายและมีเหตุผลของความเชื่อสำหรับเป้าหมายนั้น Must have a goal and believable reasons for that goal ต้องดึงดูดผู้ชม. Must appeal to audience ตัวละครมักจะเปลี่ยนแปลงตามที่เรื่องราวที่ดำเนินไป Character usually changes or transforms as the story is told.

27 การจัดรูปแบบสคริปต์ (Script Format)
ตัวอย่าง : Sample: INT./EXT สถานที่ - วัน / คืน INT./EXT. LOCATION – DAY/NIGHT ชื่อตัวละคร CHARACTER NAME (Bashfully) บทสนทนาจากนี้ไป ควรมีบทมากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้แต่ไม่ควรยาวเกิน 4 บรรทัด Dialogue goes here. As much as possible shouldn't go much longer than 4 lines.

28 บทสนทนาภาพยนตร์ (Dialogue)
บทสนทนาภาพยนตร์ไม่เหมือนชีวิตจริง ในภาพยนตร์นั้นบททุกบรรทัด ต้องมีความหมายต่อผู้ชม Movie dialogue is not the same as real life. In a movie every line must carry meaning to audience. บทคนพูดไม่ควรที่จะเกิน 3 บรรทัด ควรทำให้มันสั้น People shouldn’t say more than 3 lines. Keep it short. ให้นักแสดงแสดงถึงตัวตนของบทนั้น (การเข้าถึงบท) ไม่ใช่เป็นการ อธิบายแค่การกระทำ Make actors respond to visual, not explain actions

29 บทสนทนาภาพยนตร์ (Dialogue)
อย่าให้ตัวละครทำอะไรที่ไม่จำเป็น เช่น อย่าโบกมือเว้นแต่ว่าการทำแบบ นั้นมันมีความหมาย Do not make your actors do anything unnecessary e.g. don’t wave hand unless there is meaning. พยายามอย่าใช้คำเดียวกับบทคนอื่น ดูวิดีโอตัวอย่างบทสนทนาที่ไม่ดี Try not to use the same words as everyone else Watch bad dialogue example video. อ่านบทสคริปต์ออกมาในขณะที่เขียนบท Read scripts out loud when writing them.

30 บทสนทนาภาพยนตร์ (Dialogue)
ทำให้แน่ใจว่าบทสนทนาเหมาะสมกับตัวละคร Make sure dialogue suits character. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าบทสนทนานั้นมีการโต้ตอบ ถ้ามีคนหนึ่งพูดขึ้น จะต้องมีอีกคนโต้ตอบ Make sure dialogue is interactive. If one person speaks, let the other answer.

31 บทสนทนาภาพยนตร์ (Dialogue)
ตัวอย่างบท ตัวอย่างบทที่ไม่ดี : แม่ : แม่อยากให้ลูกกลับบ้าน I want you to come home. ลูก : หนูอยากไปบ้านเพื่อน I want to go to my friends' house แม่ : แม่อยากให้ลูกช่วยแม่ทำอาหารเย็น I need you to help me cook dinner ลูก: ไม่! หนูอยากไปบ้านเพื่อน No! I want to go to my friends house. ตัวอย่างบทที่ดี : แม่ : เร็วๆเข้า เราต้องล้างผักพวกนี้นะ Come on, the vegetables need cleaning. ลูก : โถ่ .... แต่เพื่อนชวนหนูไปที่บ้านเขานะคะ Aww...But my friend invited me to her house.


ดาวน์โหลด ppt SCRIPTWRITING การเขียนบท

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google