ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยYago Mota ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ผลการดำเนินงาน ER ปี2560 และแผนการดำเนินงาน ER 2561 โรงพยาบาลนาเชือก
2
ผลงานปี 2560 บุคลากร FTE แพทย์ 1คน พยาบาลวิชาชีพ 9 คน
ประเภทผู้ป่วย ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี2561 Resuscitation 12 (0.04%) 18 (0.05%) 15 4 Emergency 110 (0.43%) 100 (0.31%) 82 (0.26%) 16 (0.25%) Urgency 2,914 (11.44%) 4,415 (13.74%) 3,772 (12.29%) 854 (11.36%) Less Urgency 13,620 (53%) 1,6243 (50.58%) 15,230 (49.65%) 3,208 (42.69%) Non Urgency 10,099 (39.67%) 11,318 (35.24%) 11,612 (37.85%) 3,431 (45.6%) TOTAL 25,452 32,110 30,671 7,513 บุคลากร FTE แพทย์ 1คน พยาบาลวิชาชีพ 9 คน เวชกิจฉุกเฉิน 3 คน ผู้ช่วยเหลือคนไข้ 3 คน พนักงานขับรถยนต์ 6 คน อุปกรณ์ ECS คุณภาพ basically ประเภทผู้ป่วย2561 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. Resuscitation 1 2 Emergency 4 8 Urgency 305 292 257 Less Urgency 1,165 1,022 1,021 Non Urgency 1,097 1,177 1,157 TOTAL 2,572 2,497 2,444 สถิติบริการ
3
ผลงานปี 2560 เป้าหมาย ผลงาน รพ.นาเชือก. ECS ECS คุณภาพ >70% 50.96%
EMS แจ้งเหตุผ่าน 1669 80% 83.10% Response time in 10 นาที 75% 82.88% Refer Refer out นอกเขตใน 4 สาขาหลัก ลดลง ร้อยละ 10 สาขามะเร็งลดลง100% Disaster ผ่านการประเมิน ร้อยละ40 40 ER ROSC OHCA <30% 33.33% (8/24) (S) Survive to Admission <15% (F2,M) Survive to Refer 33.33 (8/12) อัตราการตาย มี Ps score > 0.75 <1%
4
แผนการดำเนินงาน ER ปี 2561 1. ER Crowding 2. 2P ER Safety Goal
3. Emergency Care Data Set & System ประเด็นปัญหา มาตรการแก้ไข ผู้รับบริการจำนวนมาก 1. พัฒนาศักยภาพ บุคากรในการดูแลผู้ป่วย 2. พัฒนาระบบปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ 3. เพิ่มประสิทธิภาพการ Flow ของผู้ป่วย 4.แผนขยายห้องอุบัติเหตุฉุกเฉิน ระยะเวลา รอคอยการรักษานาน 1. พัฒนาระบบคัดกรอง 2. มีระบบเรียกอัตรากำลังเสริมจากหน่วยงานใกล้เคียง ประเด็นพัฒนา มาตรการแก้ไข ระบบสื่อสาร 1. สื่อสารขั้นตอน/สถานะ การให้การรักษาพยาบาล เพื่อลดความขัดแย้ง ความปลอดภัยของบุคลากร/ผู้ป่วย 1. ประตูห้องฉุกเฉิน Safety 2. พนักงานรักษาความปลอดภัย 3. กล้องวงจรปิด(อยู่ในระหว่งดำเนินการ ) 4. Ambulance Safety 5. มาตรการดูแลหลังได้รับผลกระทบ อัตรากำลัง 1. ทบทวนความเหมาะสมของ Work load 2. จัดอัตรากำลังเสริมและเพิ่มค่าตอบแทนในช่วงเทศกาล 3.จัดอัตรากำลังเสริมในวันหยุดนักขัตฤกษ์ การจัดการความเสี่ยง 1. อบรมการบริหารจัดการความเสี่ยง 2. Rapid Team คุณภาพการรักษา 1. ER Fast track ทบทวนคุณภาพการรักษา 1. Audit คุณภาพการรักษา 2. วิจัย / นวัตกรรม 3. Case Conference ประเด็นพัฒนา มาตรการแก้ไข พัฒนาระบบข้อมูล จัดทำคู่มือการจัดบริการและพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยในห้องฉุกเฉิน การถ่ายทอดนโยบาย บูรณาการฐานข้อมูล IS/PHER/Refer Online พัฒนาศักยภาพบุคลากร พยาบาล EMS Nurse ACLS / IC 3. ฝึกทักษะการให้ยาละลายลิ่มเลือด( SK)
5
แผนการดำเนินงาน Disaster ปี 2561
1. การประเมินความเสี่ยงโดยใช้ Hospital Safety Index 2. จัดทำแผนสาธารณภัยในโรงพยาบาล 3. การซ้อมแผนและประเมินผลการซ้อม ประเด็นปัญหา มาตรการแก้ไข การเตรียมความพร้อม Hospital Safety 1. ประเมิน Hospital Safety Index ประเด็นพัฒนา มาตรการแก้ไข 1.ไม่มีคู่มือ การจัดการสาธารณภัย ระดับ โรงพยาบาลและระดับจังหวัด 2. บุคลากร 1. จัดทำคู่มือ 2. แนวทางปฏิบัติ EOC 3. พัฒนาบุคลากร ความรู้ ทักษะ ความเพียงพอ (ทีมMERT /mini MERT) ประเด็นพัฒนา มาตรการแก้ไข การสื่อสาร ความรู้ความเข้าใจ ระดับปฏิบัติ บริหาร 1. ฝึกซ้อมสถานการณ์ / EOC 2. ทบทวน/ปรับปรุงคู่มือ 3. การบูรณาการแผนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
6
แผนการดำเนินงาน EMS + Refer ปี 2561
2. Referral System ประเด็นปัญหา มาตรการแก้ไข EMS คุณภาพ (ผู้ป่วยสีแดง/Fast track) การเข้าถึงบริการ 48.78% วิเคราะห์สาเหตุเชิงลึก ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ อปท.ประชาชน พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม 2. คุณภาพ การดูแลผู้ป่วย ณ จุดเกิดเกตุ 1. Real time Online Medical Direction 2. Ambulance Operation Center 3.ระบบ Consult แพทย์เวร ประเด็นพัฒนา มาตรการแก้ไข พัฒนาระบบRefer Back พัฒนา node พัฒนาระบบสารสนเทศ โปรแกรม refer/บูรณาการ Ambulance safety พัฒนาบุคลากร Ambulance Operation Center
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.