ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAsli Erdem ได้เปลี่ยน 2 ปีที่แล้ว
1
NSG 2202 การพยาบาลพื้นฐาน บทที่ 3 การตรวจร่างกายตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า
ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2562 วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา Lect. Tanawat Ruamsook B.N.S., NP., M.N.S. (Community Health Nurse Practitioner) College of Nursing and Health, Suan Sunandha Ratjabhat University
2
History data Physical Laboratory Examination History Percussion
Chief complain Auscultation Palpation Inspection เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
3
Auscultation Palpation Inspection Percussion
เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
4
Head – To – Toe assessment criteria
ระบบการตรวจร่างกาย Head – To – Toe assessment criteria Body systems assessment criteria Functional health pattern criteria เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
5
เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ
SSRU
6
Inspection เป็นการสังเกต เพื่อประเมินลักษณะทางกายภาพที่สำคัญและพฤติกรรมที่สำคัญ เช่น ลักษณะเฉพาะ รูปร่าง ตำแหน่ง ขนาด ความเท่ากัน สี การเคลื่อนไหว ... ดูให้ทั่วและดูให้เป็นระบบ ต้องทราบลักษณะที่ปกติ และสามารถแยกสิ่งที่เปลี่ยนแปลง/ผิดปกติ ได้ ลักษณะของโรคที่ปรากฏจากการดู : ซีด เหลือง แดงคล้ำ เขียวคล้ำ บวม แห้ง บางระบบอาจต้องใช้อุปกรณ์ช่วย เช่น Otoscope, Opthalmoscope เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
7
Palpation เป็นการตรวจสอบตำแหน่งที่คลำมีความผิดปกติตามที่สังเกตเห็นหรือไม่ เช่น คลำเพื่อประเมินว่ามีอาการปวดหรือไม่ คลำพบว่ามีก้อนหรือไม่ มีอาการร้อนหรือไม่ เช่น คลำบริเวณตับ คลำบริเวณข้อเข่า เป็นต้น นอกจากนี้ เพื่อการตรวจประเมิน... - ตรวจหาชีพจร - ลักษณะของกระดูกและข้อ - ความตึงตัว - อุณหภูมิและความชุ่มชื้นของผิวหนัง - การสั่นสะเทือน : Thrill, Tactile fremitus เป็นต้น เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
8
(Deep palpation or Bimanual deep palpation)
คลำตื้น (Light palpation) คลำลึก (Deep palpation or Bimanual deep palpation) คลำโดยใช้สองมือ (Bimanual palpation) เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
9
Pulse points and Pressure points
เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
10
Percussion Direct / Immediate percussion Indirect / Mediate percussion
Fist percussion เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
11
Direct / Immediate percussion
เป็นการเคาะโดยตรงโดยใช้มือที่งองุ้มเล็กน้อยเคาะลงไปตรงๆ หรือใช้เพียงบางนิ้วเคาะ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
12
Indirect / Mediate percussion
Flatness : เสียงทึบมาก เช่น การเคาะบริเวณกระดูก Dullness : เสียงทึบ เช่น การเคาะบริเวณตับหรือหัวใจ Resonance : เสียงโปร่ง เช่น การเคาะบริเวณปอด Hyperresonance : เสียงโปร่งมาก เช่น การมีลมในปอด ถุงลมโป่งพอง Tympany : เสียงกังวาน เช่น การเคาะบริเวณกระเพาะ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
13
เป็นการเคาะเพื่อตรวจดูไต
Fist percussion เป็นการเคาะเพื่อตรวจดูไต เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
14
Auscultation เป็นการตรวจโดยใช้อุปกรณ์หรือไม่ใช้ ก็ได้ เพื่อประเมินความผิดปกติที่ได้จากการประเมิน ควรทำก่อนการเคาะและการคลำ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
15
Move เป็นวิธีการตรวจที่ใช้กับระบบประสาท การตรวจกระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
16
การตรวจร่างกาย (Physical Examination) :
จัดให้ผู้รับบริการอยู่ในทางที่เหมาะสมต่อการตรวจ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
17
General Appearance “สุขภาพทั่วไป”
เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
18
Head Eyes Ears Nose Throat Thyroid glands Lymph nodes Skin
Musculoskeletal system Nervous system เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
19
อุปกรณ์ ตรวจร่างกาย มีอะไรบ้าง
20
Head Eyes Ears Nose Throat
HEENT เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
21
Head การดู Head : สมมาตรหรือไม่ บิดเบี้ยวหรือไม่ ศีรษะโตหรือไม่
เริ่มตรวจตั้งแต่ผู้ป่วยเดินเข้ามา สังเกตรูปร่างศีรษะ หน้าและส่วนประกอบของใบหน้า เช่น ศีรษะสมมาตร/สมส่วนหรือไม่ หน้าบวม หนังตาบวม หรือไม่ เป็นต้น การดู Head : สมมาตรหรือไม่ บิดเบี้ยวหรือไม่ ศีรษะโตหรือไม่ Hair : สี ผมแห้ง แดง กรอบ และร่วง หรือไม่ การกระจายตัว ความหยาบ ความละเอียดของเส้นผม Scalp : หนังศีรษะลอกหรือไม่ อักเสบ มีรอยโรค หรือไม่ การคลำ มีก้อนหรือไม่ (ถ้ามีนิ่ม/แข็ง) กดเจ็บหรือไม่ เป็นต้น เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
22
หน้า การดู หน้าเท่ากันหรือไม่ อาจมีข้างใดข้างหนึ่งบวม จากต่อมน้ำลาย/ต่อมน้ำเหลืองอักเสบ เหงือกอักเสบ เป็นต้น สังเกตผิว สี แผล ลักษณะการบวม แห้ง หรือเป็นมัน หรือไม่ สังเกตการเคลื่อนไหวที่ควบคุมไม่ได้ เช่น การสั่น การเกร็ง เป็นต้น การคลำ คลำดูว่ามีปวดบริเวณ sinus หรือไม่ คลำดูว่ามีก้อนบวมที่ใด เคลื่อนไหวได้หรือไม่ แข็งหรือนุ่ม เจ็บหรือไม่ ลักษณะผิวเป็นอย่างไร เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
23
Eyes เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
24
Anatomy of the Eyes SSRU
เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
25
Eyes การดู สังเกตความผิดปกติ เช่น ตาโปนหรือพอง ตาเข ตาเหล่ กระพริบตาบ่อยหรือไม่ ร่วมกับการซักถามการเปลี่ยนแปลงของสายตา การคลำ คลำดูว่ามีปวดหรือไม่ กดเจ็บหรือไม่ ร้อนหรือไม่ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
26
Visual Acuity : VA เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
27
Visual Field เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
28
การตรวจภายในลูกตา พิจารณา
Optic disc คนปกติจะมีรูปร่างกลม เป็นสีชมพูอ่อน ด้านในมีสีแดงกว่าด้านนอก ขอบเขตชัด หลอดเลือด ในคนปกติจะมีขนาด 2/3 หรือ ¾ เท่าหลอดเลือดดำ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
29
Visual Reflex The light reflex
แสง นอกจากจะทำให้รูม่านตาเดียวกันหรี่แล้ว เรียกว่า direct light reflex ยังทำให้รูม่านตาด้านตรงข้ามหรี่ตามด้วย เรียกว่า consensual light reflex และเรียกปฏิกิริยาต่อแสงว่า reac to light : RTL Accommodation คือ กระบวนการที่ทำให้เห็นได้ชัด ไม่ว่าสิ่งนั้นจะใกล้หรือไกล ลูกตาทั้งสองข้างจะเบนเข้าหากัน มีการหรี่ของรูม่านตาและมีการปรับตัวของแก้วตา เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
30
Conjunctivitis Pterygium Pinguecula Sty / Hordeolum Glaucoma Cataract Ptosis
31
Ears เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
32
Ears การดู ชั้นแรกให้ตรวจดูช่องรูหู (External ear) โดยเริ่มดูตั้งแต่ใบหู บวม อักเสบ ก้อน ผิวหนัง ชั้นต่อไปให้ตรวจดูในช่องหู (External auditory meatus) โดยใช้ otoscope การคลำ คลำดูว่ามีปวดหรือไม่ กดเจ็บหรือไม่ ร้อนหรือไม่ โดยเฉพาะบริเวณปุ่มกระดูก Mastoid เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
33
Ears (TUNING FORK)
34
Nose เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
35
Nose การดู ตรวจดูภายนอกก่อน ตรวจช่องจมูก โดยใช้ Nasal speculum การคลำ
คลำดูว่ามีปวดหรือไม่ กดเจ็บหรือไม่ ร้อนหรือไม่ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
36
Throat
39
Neck การดู สังเกตลักษณะกล้ามเนื้อที่คอ มีหดเกร็งหรือไม่
การเคลื่อนไหว (หัน/เงย) สังเกตต่อมไทรอยด์ เส้นเลือดที่คอ การคลำ คลำหลอดลม คลำต่อมไทรอยด์ การฟัง ต่อมไทรอยด์ เสียง bruit เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
40
Thyroid glands เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
41
Thyroid glands เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
42
Lymph nodes Salivary gland
43
Lymph nodes การตรวจในท่านั่ง
44
Lymph nodes Horizontal group Vertical group
การดู : สังเกตทั่วไป การบวม / โต อักเสบ การคลำ : กดเจ็บหรือไม่ ร้อนหรือไม่ Horizontal group Vertical group
45
Skin เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
46
Skin การดู สังเกตสีผิวทั่วไป ผื่น รอยแดง จุดจ้ำเลือด การบวม ชื้น
สังเกตเล็บ (Clubbing finger / Spoon nail) เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
47
Skin การคลำ อุณหภูมิผิวหนัง ลักษณะสัมผัส (Texture) ความตึงตัวของผิว (Turgor) เม็ดผื่น/ตุ่มต่างๆ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
48
Type of skin lesion Macule
เป็นผื่นราบระดับเดียวกับผิวหนังขนาดประมาณ 0.5 – 1 ซม. เช่น หัด ไข้ดำแดง จุดจ้ำเลือด ตกกระ เป็นต้น Patch เป็นผื่นที่มีลักษณะคล้าย Macule แต่มีขนาดมากกว่า 1 ซม. เช่น ด่างขาว เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
49
Papule เป็นตุ่มนูนขนาดเล็ก กว้างไม่เกิน 0.5 ซม. เกิดจาก cell ในชั้น Epidermis หรือ Dermis แบ่งตัวขึ้น อาจมียอกแหลม เช่น ไฝ หรือยอดแบนราบ เช่น หูด Nodule เป็นตุ่มคลำได้ที่มีขนาดใหญ่ว่า Papule มีความสูงและความกว้างมากกว่า 0.5 ซม. เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
50
Pustule เป็นตุ่มหนอง นูน ยกขึ้นจากผิวหนัง อาจมีลักษณะและรูปร่างที่ต่างกัน ข้างในตุ่มหนองจะมีน้ำข้นเหลืองอยู่ เช่น สิว Wheal Wheal เป็นตุ่มบวมน้ำ แดง ผิวเรียบ รูปร่างอาจเปลี่ยนแปลงหรือขยายใหญ่ขึ้นเป็นผืนใหญ่ และจะหายเองภายในไม่กี่ชั่วโมง อาจมีสีเดียวกับผิวหนังหรือแดงเรื่อ เช่น ผื่นลมพิษ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
51
Vesicle เป็นตุ่มน้ำขนาดเล็ก กลม ยกนูน มีขนาดไม่เกิน 0.5 ซม. ถ้ามีขนาดใหญ่เรียกว่า Bulla หรือ Bleb น้ำข้างในใส เช่น อีสุกอีใส เริม เป็นต้น Plaques มีลักษณะเป็นผื่นยกนูนจากระดับผิวและมีขนาดใหญ่ และใหญ่กว่า papule หรือเกิดจากการรวมตัวกันของ papule เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
52
คือ แผลที่เกิดจากผิวหนังชั้น Epidermis และบางส่วนของ Dermis หายไป
Ulcer คือ แผลที่เกิดจากผิวหนังชั้น Epidermis และบางส่วนของ Dermis หายไป Fissure เป็นรอยแตกของผิวหนัง มักมีอาการเจ็บ ปวด บริเวณนั้นร่วมด้วย พบบ่อยที่ ฝ่ามือ ฝ่าเท้า เป็นต้น เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
53
แผลเป็นที่มีขนาดใหญ่นูนสูงขึ้นมาเหนือผิวหนัง
Erosion คือ รอยลอกเป็นแผลตื้นๆ ขอบเขตชัดเจน อยู่ชั้นหนังกำพร้า เช่น บริเวณที่มีการแตกของตุ่มอีสุกอีใส Keloid แผลเป็นที่มีขนาดใหญ่นูนสูงขึ้นมาเหนือผิวหนัง เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
54
Scar คือ รอยแผลที่เกิดจากการแทนที่ของเนื้อเยื่อที่ตาย พื้นผิวจะเปลี่ยนแปลงไป Petechiae เป็นจุดเล็กๆสีแดงที่ผิวหนัง อาจแบนหรือนูนขึ้นเล็กน้อย กดดูแล้วไม่จาง ขนาดน้อยกว่า 0.2 เซนติเมตร เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
55
Musculoskeletal system
การดู สังเกตท่าทางการเดิน รูปร่าง
56
Musculoskeletal system
การคลำ ในระบบนี้มีความสำคัญ ต้องคลำให้ละเอียด เช่น คลำปุ่มกระดูก กล้ามเนื้อ ประเมินอาการอักเสบ ปวด บวม ร้อน เทียบกันทั้งสองข้าง การฟัง ส่วนใหญ่จะไม่ใช้หูฟัง สามารถได้ยินด้วยหู เช่น Crepitus/Crepitation Crackling sound เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
57
Test of Range of Motion : ROM Flexion : การงอเข้า
การเคลื่อนไหว (Move) Test of Range of Motion : ROM Flexion : การงอเข้า Extension : การเหยียดออก Abduction : การเหยียดออก ห่างออกจาก median line ของลำตัว Adduction : การเคลื่อนไหวเข้ามาหา median line ของลำตัว Rotation : การเคลื่อนไหวของข้อต่อที่หมุนไปบนแกนของมัน โดยหมุนอยู่กับที่ Circumduction : การเคลื่อนไหวแบบรูปฝาชี เช่น การแกว่างแขนให้เป็นวง เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
59
Range of Motion (ROM)
60
Range of Motion (ROM)
61
Motor power V IV III II Rt. Lt. IV V III II SSRU
เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
62
Nervous system
63
Orientation Place Person Time Nervous system SSRU
เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
64
Nerve 12 คู่ 1. รับกลิ่น 3. กลอกตา 2. การมองเห็น : VA ลานสานตา
5. กล้ามขากรรไกร ให้ผู้ป่วยกัดฟัน สำลีเขี่ย cornea / เขี่ยแก้ม 4. มองตาลงและเฉียง ใช้กล้ามเนื้อ Superior oblique 6. มองไปด้านข้าง ใช้กล้ามเนื้อ internal rectus ทำหน้าผากย่น / ยิ้มยิงฟัน / ทำปากจู๋ 8. การได้ยิน 9. รับรส 12. แลบลิ้น 10. ลิ้นไก่ ออกเสียง อา 11. ยักไหล่ กดไหล่ / เหลียวหน้า เหลียวหลัง
65
2. ประเมินการมองเห็น (CN2 : optic nerve) : VA
1. General Appearance 2. ประเมินการมองเห็น (CN2 : optic nerve) : VA 3. ประเมินศีรษะและใบหน้า 4. คลำและเคาะบริเวณโพรงไซนัส : Frontal / Maxillary sinus เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
66
7. ดูจมูก (CN1 : olfactory nerve)
5. ดูคิ้ว ตา ขนตา และเปลือกตา (CN3 : oculomotor nerve, CN4 : trochlear nerve, CN6 : abdocens nerve) : VF 6. ตรวจ (CN2 : optic nerve, CN3 : oculomotor nerve) : Direct light reflex 7. ดูจมูก (CN1 : olfactory nerve) เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
67
8. ประเมิน CN5 : Trigeminal nerve
9. ประเมิน CN7 : Facial nerve 10. ประเมิน CN9 : glossopharyngeal nerve, CN10 : vagus nerve 11. ประเมิน CN12 : hypoglossal nerve เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
68
12. ตรวจหู (ประเมิน CN8 : auditory nerve) : Weber’s / Rinne’s test
13. ดูคอ (ประเมิน CN11 : accessory nerve) เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
69
14. ตรวจดูหลอดเลือดดำที่คอ
15. คลำต่อมน้ำเหลือง / ต่อมไทรอยด์ 16. การดูมือ ข้อนิ้วมือ 17. การตรวจ Rapid rhythmic alternating movement เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
70
Level of conscious Alert คือ ภาวะการรู้ตัวปกติตอบสนองได้ ทราบเวลา บุคคล และสถานที่ Drowsiness (lethargy) คือ ภาวะซึมผู้ป่วยจะหลับตื้น สามารถปลุกด้วยการเรียก จะรู้ตัว โต้ตอบได้เป็นช่วงสั้นๆ แล้วจะหลับต่อ Stupor คือ ภาวะซึมมาก หลับลึก ต้องกระตุ้นด้วยสิ่งกระตุ้นที่รุนแรง จึงจะตอบสนอง เช่น deep pain ผู้ป่วยจะมีการขยับแขนขาส่งเสียงร้อง หรือเอามือปัดเพื่อหลีกเลี่ยง สิ่งกระตุ้นที่รุนแรงนั้น Coma คือ ภาวะหมดสติ มีระดับรุนแรงมากที่สุดไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นใดๆ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
71
E V M Glasgow Coma Scale/Score : GCS 13 – 15 = Mild 9 – 12 = Moderate
3 – 8 = Severe M SSRU
72
Reflex 1. Deep Tendon Reflex : DTR - Biceps jerk
- Brachioradialis jerk - Triceps jerk - Knee jerk - Ankle jerk เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
73
Biceps reflex Brachioradialis reflex Triceps reflex
74
Ankle reflex Knee reflex
75
Reflex 2. Superficial reflex - Abdominal reflex - Babinski’s sign
3. Hemispheric function - Finger to nose test - Romberg’s test 4. Sign of meningeal irritation - Neck stiffness - Kernig’s sign เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
76
Babinski reflex
77
+ Kernig’s sign + Neck stiffness
78
4+ / ++++ Hyperactive with clonus 5+ / +++++ Sustained clonus
การบันทึกผล / แปลผล Positive / Negative …………….. 0 absent 1+ / + Hypoactive 2+ / ++ Normal 3+ / +++ Hyperactive 4+ / ++++ Hyperactive with clonus 5+ / Sustained clonus เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2022 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.