โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
ผลการดำเนินงานตั้งแต่ :วันที่ 1ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2562 ผู้ให้ข้อมูล - สำนักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา - ศูนย์วิจัยข้าวฉะเชิงเทรา - สำนักงานประมงจังหวัดฉะเชิงเทรา - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดฉะเชิงเทรา - สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา - สำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดฉะเชิงเทรา

2 ประเด็นการตรวจติดตาม
1. การพัฒนาเกษตรกรที่ยังไม่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 1)พัฒนาเกษตรกรทั่วไป และเกษตรกรรุ่นใหม่ให้ผ่านคุณสมบัติ Smart Farmer/Young Smart Farmer โดยวิธีการใด จำนวน Smart farmer สะสม ถึงปี ,233ราย เป้าหมายการดำเนินงาน ปี 2562 จำนวน 455 ราย ดังนี้ สำนักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน .220 ราย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 80 ราย สำนักงานสหกรณ์จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 85...ราย สำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 70 ราย

3 ประเด็นการตรวจติดตาม
1. การพัฒนาเกษตรกรที่ยังไม่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 1)พัฒนาเกษตรกรทั่วไป และเกษตรกรรุ่นใหม่ให้ผ่านคุณสมบัติ Smart Farmer/Young Smart Farmer โดยวิธีการใด ผลการดำเนินงาน - กรมส่งเสริมการเกษตร ดำเนินการพัฒนาเกษตรกรในกลุ่มส่งเสริมอาชีพ 11 กลุ่ม จำนวน 220 ราย ให้เป็น Smart Farmer โดยครั้งที่ 1 จัดเวทีวิเคราะห์ศักยภาพ ประเมินคุณสมบัติก่อนการอบรม ค้นหาความต้องการในการพัฒนา ทำแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) เจ้าหน้าที่และ Smart Farmer ต้นแบบ ติดตามให้คำแนะนำในการนำแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) ไปปฏิบัติ ครั้งที่ 2 เดือนมกราคม 2562 จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความรู้ในด้านที่ต้องการ สรุปผล

4 ประเด็นการตรวจติดตาม
1. การพัฒนาเกษตรกรที่ยังไม่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 1)พัฒนาเกษตรกรทั่วไป และเกษตรกรรุ่นใหม่ให้ผ่านคุณสมบัติ Smart Farmer/Young Smart Farmer โดยวิธีการใด - สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา ดำเนินการพัฒนาเกษตรกรทั่วไป ที่มีความสนใจและขึ้นทะเบียนเกษตรกรแล้ว จำนวน 80 ราย แบ่งเป็น เกษตรกรทั่วไป 40 ราย อาสาปศุสัตว์ 20 ราย และ Smart Farmer ต้นแบบ สาขาปศุสัตว์จำนวน 20 ราย ทำการประเมินคุณสมบัติก่อนการอบรมโดยใช้แบบประเมินคุณสมบัติ Smart Farmer อบรมให้ความรู้ จากหลักสูตรที่กรมกำหนด

5 ประเด็นการตรวจติดตาม
1. การพัฒนาเกษตรกรที่ยังไม่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 1)พัฒนาเกษตรกรทั่วไป และเกษตรกรรุ่นใหม่ให้ผ่านคุณสมบัติ Smart Farmer/Young Smart Farmer โดยวิธีการใด แผนการดำเนินงาน - สำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดฉะเชิงเทรา ดำเนินการอบรมเกษตรกรตามหลักสูตรที่กรมกำหนด -สำนักงานสหกรณ์จังหวัดฉะเชิงเทรา 1)อบรมความรู้ด้านการลดต้นทุนการผลิต และการเพิ่มรายได้

6 ประเด็นการตรวจติดตาม
1. การพัฒนาเกษตรกรที่ยังไม่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 1)พัฒนาเกษตรกรทั่วไป และเกษตรกรรุ่นใหม่ให้ผ่านคุณสมบัติ Smart Farmer/Young Smart Farmer โดยวิธีการใด -สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา 2)การอบรมให้ความรู้

7 ประเด็นการตรวจติดตาม
1. การพัฒนาเกษตรกรที่ยังไม่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 2. เน้นพัฒนาให้เกษตรกรมีแผนพัฒนาตนเอง และแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) โดยวิธีการใด - กรมส่งเสริมการเกษตร 1) ถ่ายทอดความรู้การจัดทำแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) โดยมีเจ้าหน้าที่ และ Smart Farmer ต้นแบบ เป็นพี่เลี้ยง คอยให้คำปรึกษาในระหว่างการนำแผนพัฒนาการผลิตรายบุคคล(IFPP) ไปปฏิบัติ 2)การอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการวางแผนการผลิตโดยแยกตามประเภทอาชีพ/การผลิต

8 ประเด็นการตรวจติดตาม
1. การพัฒนาเกษตรกรที่ยังไม่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 2. เน้นพัฒนาให้เกษตรกรมีแผนพัฒนาตนเอง และแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) โดยวิธีการใด -กรมส่งเสริมการเกษตร 1) ถ่ายทอดความรู้การจัดทำแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) โดยมีเจ้าหน้าที่ และ Smart Farmer ต้นแบบ เป็นพี่เลี้ยง คอยให้คำปรึกษาในระหว่างการนำแผนพัฒนาการผลิตรายบุคคล(IFPP) ไปปฏิบัติ 2)การอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการวางแผนการผลิตโดยแยกตามประเภทอาชีพ/การผลิต

9 ประเด็นการตรวจติดตาม
1. การพัฒนาเกษตรกรที่ยังไม่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 2. เน้นพัฒนาให้เกษตรกรมีแผนพัฒนาตนเอง และแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) โดยวิธีการใด -สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา 2)การอบรมให้ความรู้

10 ประเด็นการตรวจติดตาม
1. การพัฒนาเกษตรกรที่ยังไม่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 3. การประเมิน/วิเคราะห์ศักยภาพ ปรับแนวคิดในการทำอาชีพและจัดทำแผนพัฒนาความรู้ โดยวิธีการใด -กรมส่งเสริมการเกษตร -ประเมินคุณสมบัติ Smart Farmer ผู้เข้ารับการอบรมทุกคน ก่อนการอบรม หาความต้องการพัฒนาเพื่อความสำเร็จในการประกอบอาชีพ -ถ่ายทอดความรู้ตามความต้องการ

11 ประเด็นการตรวจติดตาม
1. การพัฒนาเกษตรกรที่ยังไม่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 4. การอบรมพัฒนาทักษะอาชีพ และแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการ ด้วยนวัตกรรมเกษตร โดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และปรับแนวคิด โดยใช้ศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่เป็นศูนย์เรียนรู้ (แผนดำเนินการเดือน มีนาคม 2562) -อบรมให้ความรู้ในการเข้าถึงแหล่งข้อมูล ออนไลน์ -อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการตลาดสินค้าออนไลน์ (แผนดำเนินการเดือนเมษายน 2562)

12 ประเด็นการตรวจติดตาม
1. การพัฒนาเกษตรกรที่ยังไม่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 5. การเชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้/การตลาด โดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร จัดเวทีเชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้ร่วมกัน/การตลาดกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร - จัดการอบรมในพื้นที่แปลง Young Smart Farmer ที่ประสบความสำเร็จ/ศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่ เพื่อสร้างเครือข่ายการเรียนรู้

13 ประเด็นการตรวจติดตาม
1. การพัฒนาเกษตรกรที่ยังไม่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 6. การประเมินผลสู่การเป็น SF/YSF โดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร -ประเมินตามแบบประเมินคุณสมบัติ SF/YSF -ทำแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) และนำไปปฏิบัติจริง -เกษตรกรรุ่นใหม่นำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การบริหารจัดการ และการตลาดสินค้าเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

14 ประเด็นการตรวจติดตาม
2. การพัฒนาเกษตรกรที่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer แล้ว ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 1. พัฒนาเพื่อยกระดับเกษตรกรผู้นำ Smart Farmer/ Young Smart Farmer ต้นแบบ โดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร -ประเมินคุณสมบัติ SF/YSF -จัดเวทีวิเคราะห์ศักยภาพการผลิต ค้นหาความต้องการในการพัฒนา -สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ร่วมกันของ SF/YSF -ถอดองค์ความรู้ Smart Farmer/ Young Smart Farmer ต้นแบบ

15 ประเด็นการตรวจติดตาม
2. การพัฒนาเกษตรกรที่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer แล้ว ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 2. พัฒนาให้มีความสามารถเฉพาะด้าน ด้านใดบ้าง และวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร -การใช้สารสนเทศ เช่น Farmbook ,การค้นหาข้อมูลใน internet ,สร้างไลน์กลุ่มของ Young Smart Farmer -ด้านการผลิตสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพ เช่น GAP,อย. การผลิตและการใช้สารชีวภัณฑ์ -ทำแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) โดยใช้หลักการตลาดนำการผลิต ,การอบรมให้ความรู้เรื่องการจำหน่ายสินค้าออนไลน์

16 ประเด็นการตรวจติดตาม
2. การพัฒนาเกษตรกรที่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer แล้ว ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 3. พัฒนา Smart Farmer/Young Smart Farmer ให้เป็นผู้ประกอบการเกษตรมีแผนธุรกิจ และมีความสามารถในการบริหารจัดการกลุ่ม โดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร แผนการดำเนินงาน (12-13 มีนาคม 2562) -ถ่ายทอดความรู้ ด้านการพัฒนากระบวนการกลุ่ม -จัดเวทีวิเคราะห์กลุ่ม /ฝึกปฏิบัติการจัดทำแผนการผลิต

17 ประเด็นการตรวจติดตาม
2. การพัฒนาเกษตรกรที่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer แล้ว ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 4. การประเมิน/วิเคราะห์ศักยภาพ โดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร แผนการดำเนินงาน - ใช้แบบประเมินคุณสมบัติ Smart Farmer ต้นแบบ - การจัดทำแผนการผลิตรายกลุ่ม - เจ้าหน้าที่ ติดตามให้คำแนะนำ และประเมินผลจากการนำแผนไปปฏิบัติ

18 ประเด็นการตรวจติดตาม
2. การพัฒนาเกษตรกรที่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer แล้ว ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 5. การอบรมพัฒนาทักษะและยกระดับสู่การเป็นผู้ประกอบการเกษตรด้วยนวัตกรรมและทักษะด้านเทคโนโลยี (Digital) โดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร ผลการดำเนินงาน - อบรมให้ความรู้การใช้ internet /การจำหน่ายสินค้าออนไลน์ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์

19 ประเด็นการตรวจติดตาม
2. การพัฒนาเกษตรกรที่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer แล้ว ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 6.สนับสนุนการพัฒนา SF/YSF ด้วยกระบวนการกลุ่ม และเชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจ โดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร ผลการดำเนินงาน -จัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องกระบวนการกลุ่ม -ฝึกปฏิบัติการจัดทำแผนการผลิตแบบกลุ่ม -แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิกกลุ่ม DSF ,SF,SFM

20 ประเด็นการตรวจติดตาม
2. การพัฒนาเกษตรกรที่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer แล้ว ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 7. การประเมินผลสู่การเป็น SF/YSF ต้นแบบ โดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร แผนการดำเนินงาน จัดเวทีวิเคราะห์ศักยภาพของเกษตรกรและจัดทำแผนการผลิตรายบุคคล(IFPP) -สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ร่วมกันของ Smart Farmer

21 ประเด็นการตรวจติดตาม
3. พัฒนาเกษตรกรที่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ต้นแบบ ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 1. สร้างเครือข่าย SF/YSF ต้นแบบ โดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร ผลการดำเนินงาน -จัดเวทีวิเคราะห์ศักยภาพของเกษตรกรและจัดทำแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) เพื่อให้เกษตรกรได้ “นำไปปฏิบัติจริง” ในการประกอบอาชีพการเกษตร -สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ร่วมกันผ่านไลน์กลุ่ม

22 ประเด็นการตรวจติดตาม
3. พัฒนาเกษตรกรที่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ต้นแบบ ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 2. การเชื่อมโยงการทำงานกับ ศพก., เครือข่าย ศพก. แปลงใหญ่ และหน่วยงานภาคี โดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร ผลการดำเนินงาน - Smart Farmer/Young Smart Farmer ต้นแบบ ร่วมเป็นวิทยากร/คณะทำงาน ของ ศพก./ เครือข่าย ศพก./แปลงใหญ่ และหน่วยงานภาคี -การพัฒนาศักยภาพ SF/YSF ต้นแบบ ร่วมกับหน่วยงานภาคี

23 ประเด็นการตรวจติดตาม
3. พัฒนาเกษตรกรที่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ต้นแบบ ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 3. ถอดองค์ความรู้ SF/YSF ต้นแบบ และเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ โดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร ผลการดำเนินงาน -ดำเนินการถอดองค์ความรู้ SF/YSF ต้นแบบโดยการสัมภาษณ์ และดูพื้นที่ปฏิบัติ ส่งเสริมส่งเสริมการเกษตร -ทำVTR องค์ความรู้ SF/YSF ต้นแบบ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

24 ประเด็นการตรวจติดตาม
3. พัฒนาเกษตรกรที่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ต้นแบบ ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 4. การประเมินคุณสมบัติ SF/YSF ต้นแบบ โดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร ผลการดำเนินงาน - ใช้แบบประเมินคุณสมบัติ Smart Farmer ต้นแบบ - การจัดทำและการนำแผนการผลิตรายบุคคลไปปฏิบัติ

25 ประเด็นการตรวจติดตาม
3. พัฒนาเกษตรกรที่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ต้นแบบ ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 5. การสร้างเครือข่าย SF/YSF และส่งเสริมการรวมกลุ่มโดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร ผลการดำเนินงาน - การสร้างไลน์กลุ่ม - เลือกคณะทำงาน สร้างเครือข่ายระดับอำเภอ/จังหวัด - จัดเวทีทำแผนการผลิตแบบกลุ่ม

26 ประเด็นการตรวจติดตาม
3. พัฒนาเกษตรกรที่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ต้นแบบ ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 6. สนับสนุนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ หรือเครือข่ายของ ศพก.โดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร ผลการดำเนินงาน - สนับสนุน SF/YSF ต้นแบบ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่ ศพก./เครือข่าย - สนับสนุนปัจจัย/แผ่นป้ายความรู้เพื่อเป็นแหล่งอบรมให้ความรู้ ฐานเรียนรู้และจุดศึกษาดูงาน

27 ประเด็นการตรวจติดตาม
3. พัฒนาเกษตรกรที่เป็น Smart Farmer/Young Smart Farmer ต้นแบบ ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 7. สนับสนุนการดำเนินงานศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่โดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร ผลการดำเนินงาน -ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่เกษตรกรที่เข้ามาเรียนรู้ ณ ศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่สนับสนุนปัจจัยการผลิต/วัสดุการเกษตร -สนับสนุนปัจจัย/แผ่นป้ายความรู้เพื่อเป็นแหล่งอบรมให้ความรู้ ฐานเรียนรู้และจุดศึกษาดูงาน

28 ประเด็นการตรวจติดตาม
4. การบริหารจัดการโครงการและสนับสนุนการดำเนินงาน ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 1. พัฒนาเจ้าหน้าที่ โดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร ผลการดำเนินงาน -กรมส่งเสริมการเกษตรจัดสัมมนาเจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด เพื่อประชุมชี้แจง - จังหวัดจัดประชุมเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ เพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน - จังหวัดจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการจัดเวที/จัดกิจกรรม

29 ประเด็นการตรวจติดตาม
4. การบริหารจัดการโครงการและสนับสนุนการดำเนินงาน ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 1. พัฒนาเจ้าหน้าที่ โดยวิธีการใด กรมส่งเสริมการเกษตร ผลการดำเนินงาน -กรมส่งเสริมการเกษตรจัดสัมมนาจนท.จังหวัด - จังหวัดประชุมชี้แจงจนท.ระดับอำเภอ - จังหวัดจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการจัดเวที/จัดกิจกรรม -จนท.จังหวัด ติดตามให้คำแนะนำ

30 ประเด็นการตรวจติดตาม
4. การบริหารจัดการโครงการและสนับสนุนการดำเนินงาน ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 2. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการพัฒนา SF กรมส่งเสริมการเกษตร ผลการดำเนินงาน (กรมส่งเสริมการเกษตรเป็นผู้จัด)

31 ประเด็นการตรวจติดตาม
5.การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 1. งบประมาณ งบประมาณที่ได้รับ สำนักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 312,000 บาท เบิกจ่ายแล้ว จำนวน 157,400 บาท คิดเป็นร้อยละ  สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 59,800 บาท(ยังไม่เบิกจ่าย) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 30,700 บาท (ยังไม่เบิกจ่าย)

32 ประเด็นการตรวจติดตาม
5.การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) 2. งบประมาณอื่นๆ (งบจังหวัด) งบประมาณที่ได้รับ ไม่มี

33 ประเด็นการตรวจติดตาม
6. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง ได้รับการพัฒนาเพื่อยกระดับเป็น Smart Farmer ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) เป้าหมาย สำนักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน .220 ราย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 80 ราย สำนักงานสหกรณ์จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 85...ราย ผล สำนักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 220 ราย

34 ประเด็นการตรวจติดตาม
7. เกษตรกรมีศักยภาพทั้งทางด้านการผลิต การแปรรูป และการตลาด เกิดเครือข่ายขยายผล Smart Farmer ต้นแบบ ที่สามารถเป็นต้นแบบการเรียนรู้ให้เพื่อนเกษตรกร มีหรือไม่ ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) - เกษตรกรมีศักยภาพด้านการผลิตโดยสามารถผลิตสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพโดยสามารถเข้าใจถึงมาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและสมัครเพื่อขอรับการตรวจรับรอง GAP

35 ประเด็นการตรวจติดตาม
7. เกษตรกรมีศักยภาพทั้งทางด้านการผลิต การแปรรูป และการตลาด เกิดเครือข่ายขยายผล Smart Farmer ต้นแบบ ที่สามารถเป็นต้นแบบการเรียนรู้ให้เพื่อนเกษตรกร มีหรือไม่ ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) - เกษตรกรมีความรู้/เข้าใจถึงความสำคัญของการแปรรูปสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพ และการขอรับรองมาตรฐานอาหารและยา (อย.) -เกษตรกรสามารถวางแผนการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้หลักการตลาดนำการผลิต

36 ประเด็นการตรวจติดตาม
7. เกษตรกรมีศักยภาพทั้งทางด้านการผลิต การแปรรูป และการตลาด เกิดเครือข่ายขยายผล Smart Farmer ต้นแบบ ที่สามารถเป็นต้นแบบการเรียนรู้ให้เพื่อนเกษตรกร มีหรือไม่ ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) -เกิดเครือข่าย Smart Farmer ต้นแบบ ที่สามารถเป็นต้นแบบการเรียนรู้ให้เพื่อนเกษตรกร เช่น ศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่ ,Smart Farmer ต้นแบบด้านการลดต้นทุนการผลิต การผลิตแบบครบวงจรตั้งแต่การวางแผนการผลิต ผลิตและการตลาดช่องทางการจำหน่าย

37 ประเด็นการตรวจติดตาม
8. เกษตรกรสามารถนำองค์ความรู้ภูมิปัญญา เทคโนโลยี และวิธีการปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ ในการพัฒนาอาชีพได้ อย่างไรบ้าง ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) -การจัดทำแผนการผลิตรายบุคคลมาวางแผนในการผลิต ผสมผสานกับภูมิปัญญาที่มี เช่น การผลิตและการใช้สารชีว-ภัณฑ์เพื่อลดต้นทุน เลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม และวิธีการปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ ในการพัฒนาอาชีพได้ ทำให้ผลิตสินค้ามีคุณภาพ ตรงตามความต้องการของตลาดไม่เกิดปัญหาผลผลิตราคาตกต่ำ

38 ประเด็นการตรวจติดตาม
9. เกษตรกรนำแผนการพัฒนาศักยภาพรายบุคคล แผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) และองค์ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ ไปปรับใช้เพื่อพัฒนาอาชีพด้านการเกษตรของตนเอง อย่างไร ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) -วางแผนและพัฒนาตนเองให้บรรลุเป้าหมายในด้านต่างๆ -ทำแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) ได้อย่างถูกต้องเพื่อเป็นบันไดสู่ความสำเร็จในการประกอบอาชีพการเกษตร -นำองค์ความรู้ต่างๆที่ได้รับ ไปปรับใช้

39 ประเด็นการตรวจติดตาม
10. มีการวางแผนการผลิตที่มีประสิทธิภาพสอดรับกับพื้นที่และสินค้า ทำให้ผลผลิตมีคุณภาพดี มุ่งสู่การเป็น Smart Product เกิดเครือข่าย Smart Farmer ต้นแบบ ทุกระดับ เป็นต้นแบบให้เพื่อนเกษตรกรได้ อย่างไร ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) -เกษตรกรสามารถวางแผนการผลิต บนพื้นฐานของทักษะ/ความถนัด ความสนใจภูมิปัญญา องค์กรพื้นที่/บริบทแวดล้อม ตลาดสินค้า เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดีมีคุณภาพ -เกษตรกรที่เป็น Smart Farmer ต้นแบบ มีการเชื่อมโยงเครือข่าย ความรู้ Productและการตลาด

40 ประเด็นการตรวจติดตาม
11. การประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการฯจากพื้นที่ดำเนินการปี 2561 ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) -YSFมีทักษะทางด้านวิชาการและการปฏิบัติด้านเทคโนโลยี เป็นผู้นำด้านการเกษตร สามารถพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรที่ได้มาตรฐาน ตรงตามความต้องการและปลอดภัยต่อผู้บริโภค มีการบริหารจัดการการผลิตและธุรกิจการเกษตร และเกิดการพัฒนาเชื่อมโยงเครือข่ายความร่วมมือในทุกระดับอย่างต่อเนื่อง

41 ประเด็นการตรวจติดตาม
11. การประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการฯจากพื้นที่ดำเนินการปี 2561 ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) -SF สามารถเป็นผู้ประกอบการที่มีการใช้เทคโนโลยี และการบริหารจัดการเพื่อการดำเนินธุรกิจอย่างทันยุคสมัย มีความเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้ ตลอดจนเกิดเครือข่าย Smart Farmer ต้นแบบ เป็นต้นแบบให้เพื่อนเกษตรกร

42 ประเด็นการตรวจติดตาม
12. ปัญหา/อุปสรรค ประเด็นการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจฯ (แผน ผล และวิธีการดำเนินงานฯ แต่ละประเด็นการตรวจ) - การพัฒนาศักยภาพของเกษตรกรตามความต้องการในด้านต่างๆยังไม่ครบ/ครอบคลุม เนื่องจากเวลามีจำกัด - การจัดทำแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) ของเกษตรกรยังไม่มีประสิทธิภาพมาก เนื่องจากขาดความชำนาญในการจัดทำ

43 ประเด็นการตรวจติดตาม
ผลสัมฤทธิ์ภาพรวมของโครงการฯปี 2562 -เกษตรกรรุ่นใหม่มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพการเกษตร หันกลับเข้าสู่อาชีพเกษตรกรรมเพิ่มมากขึ้น -เกษตรกรรุ่นใหม่นำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การบริหารจัดการ และการตลาดสินค้าเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งพัฒนาสู่การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตรยุคใหม่ -เกษตรกรทั่วไปได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพในการประกอบอาชีพ ยกระดับให้เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) -Smart Farmer ต้นแบบ สามารถสร้างแรงจูงใจและถ่ายทอดองค์ความรู้ในการประกอบอาชีพให้แก่เยาวชน เกษตรกร และบุคคลทั่วไปได้


ดาวน์โหลด ppt โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google