ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ภาษา PHP (Hypertext Preprocessor)
อาจารย์สุธารัตน์ ชาวนาฟาง สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม เอกสารนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา Webpage Design and Programming Workshop
2
ภาษา PHP ย่อมาจาก Hypertext Preprocessor
สามารถเขียนแทรกอยู่ภายในภาษา HTML ความสามารถของ PHP คือ database-enabled web page ทำให้เอกสารของภาษา HTML สามารถที่จะเชื่อมต่อกับระบบฐานข้อมูล (database) ดังนั้นภาษา PHP เป็นภาษาที่เรียกว่า server-side หรือ HTML-embedded scripting language เป็นเครื่องมือที่สำคัญชนิดหนึ่งที่ช่วยให้สามารถสร้างเอกสารแบบ Dynamic HTML ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีลูกเล่นมากขึ้น Webpage Design and Programming Workshop
3
การทำงานของภาษา PHP PHP เป็นภาษาที่มีการประมวลผลทางเครื่องผู้ให้บริการ (Server) โดยเป็นเครื่องมือที่ทำให้สามารถสร้างไฟล์เอกสารประเภท HTML ที่มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้หรือที่เรียกว่าพลวัต (Dynamic HTML) การที่เครื่องบริการมีการประมวลผลก่อนส่งข้อมูลมายังเครื่องผู้ใช้ เรียกว่า Server Side Include (SSI) ซึ่งจะทำงานในฝั่ง server แล้วส่งการแสดงผลมายัง browser ของตัว Client และนอกจากนี้ยังเป็น script ที่ embed บน HTML อีกด้วย และการทำงานในลักษณะนี้ทำให้ความเร็วในการทำงานสูงขึ้นอีกด้วย Webpage Design and Programming Workshop
4
การทำงานของภาษา PHP Webpage Design and Programming Workshop
5
ความสามารถของ PHP เป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นแบบ Open source
เป็นสคริปต์แบบ Server Side Script ทำงานบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ และส่งผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาที่เครื่องของผู้ใช้ในรูปแบบของ HTML สามารถทำงานได้ใน OS ที่ต่างชนิดกัน สามารถทำงานได้ใน Web Server หลายชนิด เช่น Personal Web Server (PWS), Apache, OmniHttpd และ IIS เป็นต้น Webpage Design and Programming Workshop
6
ความสามารถของ PHP สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming) สามารถในการทำงานร่วมกับระบบจัดการฐานข้อมูลที่หลากหลาย เช่น Oracle, MySQL, FilePro, Solid, FrontBase, mySQL และ MS SQL เป็นต้น อนุญาตให้ผู้ใช้สร้างเว็บไซต์ซึ่งทำงานผ่านโปรโตคอลชนิดต่างๆ ได้ เช่น LDAP, IMAP, SNMP, POP3 และ HTTP เป็นต้น สามารถเขียน และอ่านในรูปแบบของ XML ได้ Webpage Design and Programming Workshop
7
รูปแบบของคำสั่ง แบบ PHP tags เรียกว่า 1
short style 2 <?php .….…. คำสั่งภาษา PHP ….... ?> XML style 3 <script language="php">..…. คำสั่ง…...</script> JavaScript style 4 <% ..…. คำสั่งภาษา PHP …... %> ASP style Webpage Design and Programming Workshop
8
รูปแบบของคำสั่ง <html> <head>
<title> My Homepage </title></head> <body> <h1> <?php echo "Hello World!"; ?> </h1> </body> </html> Webpage Design and Programming Workshop
9
รูปแบบของคำสั่ง <HTML>
<HEAD><TITLE> ฝึกการเขียนภาษา PHP </TITLE></HEAD> <BODY> <H1> <? echo "นี่คือการแสดงผลข้อความในภาษา PHP <br></n>"; echo ("อีกรูปแบบหนึ่งของการแสดงผลข้อความในภาษา PHP "); //echo เป็นคำสั่งให้แสดงโปรแกรมแสดงผลทาง Browser // เครื่องหมาย "//" เรียกว่า comment /* หรืออีกรูปแบบหนึ่งของ comment เครื่องหมาย </n> ทำให้ภาษา PHP เป็นการขึ้นบรรทัด ใหม่ เครื่องหมาย <br> จะเป็นคำสั่งให้การแปลผลของ Browser ขึ้นบรรทัดใหม่ */ ?> </H1> </BODY> </HTML> Webpage Design and Programming Workshop
10
คำสั่งแสดงผล 1. คำสั่ง echo
คำสั่งการแสดงผลออกทาง Browser มี 3 ตัวคือ echo, print และ printf ดังนี้ 1. คำสั่ง echo สามารถแยกข้อความเป็นหลายช่วงในเครื่องหมาย “……...” โดยแต่ละช่วงสามารถใช้เครื่องหมายจุลภาค (,) คั่น แบบที่ 1 echo "ข้อความที่ต้องการแสดง" ; แบบที่ 2 echo ("ข้อความที่ต้องการแสดง") ; <? echo "Hello<br>"; echo ("sunday"); ?> Webpage Design and Programming Workshop
11
คำสั่งแสดงผล 2. คำสั่ง print
ใช้ในการสร้างข้อความให้กับ Text File หากต้องการสร้าง Text File ด้วย Code ภาษา PHP ต้องใช้ print() ส่วนการแสดงผลออกทางหน้าเว็บจะใช้ echo() หรือ print() ก็ได้ไม่แตกต่างอะไร แบบที่ 1 print"ข้อความที่ต้องการแสดง"; แบบที่ 2 print("ข้อความที่ต้องการแสดง"); <?php print"Hello<br>" ; print("sunday") ; ?> Webpage Design and Programming Workshop
12
คำสั่งแสดงผล 3. คำสั่ง printf
เป็นคำสั่งที่ใช้ในการแสดงผลออกทางหน้าเว็บ สร้างข้อความให้กับ Text file ไม่ว่าจะเป็นจำนวนเต็ม (int) , ทศนิยม (float) , ข้อความ (string) หรืออักขระ นอกจากนี้คำสั่งยังมีความยืดหยุ่นสูง โดยสามารถกำหนดหรือจัดรูปแบบการแสดงผลให้มีระเบียบหรือเหมาะสมตามความต้องการได้อีกด้วย Webpage Design and Programming Workshop
13
printf($format,$value);
คำสั่งแสดงผล 3. คำสั่ง printf printf($format,$value); $format คือรูปแบบหรือรหัสแทนข้อมูล ดังนี้ %d = เลขฐานสิบ %o = เลขฐานแปด %b = เลขฐานสอง %c = รหัส ASCII %s = ข้อความ %x,%X = เลขฐานสิบหก %f = ทศนิยม $value คือตัวแปร/นิพจน์ที่ต้องการแสดงข้อมูล <?php printf("100*2=%d",100*2); echo "<br>"; printf("100*2=%.2f",100*2); printf("100*2=%c",100*2); printf("%s","Sutarat Chaonafang"); ?> Webpage Design and Programming Workshop
14
ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข
1. คำสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบทางเลือกเดียว (คำสั่ง if ) คำสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบทางเลือกเดียว จะทำคำสั่งก็ต่อเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง if (เงื่อนไข) { กิจกรรมหรือคำสั่ง เมื่อเงื่อนไขข้างต้นเป็นจริง } $A = 2; if ( $A == 2 ) { echo "ตัวแปรชื่อ A มีค่าเท่ากับ 2"; } Webpage Design and Programming Workshop
15
ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข
2. คำสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบสองทางเลือก (คำสั่ง if...else) คำสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบทางเลือกเดียว จะทำคำสั่งก็ต่อเมื่อ เงื่อนไขเป็นจริง และจะทำคำสั่งหลัง else ก็ต่อเมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ if (เงื่อนไข) { คำสั่งเมื่อเงื่อนไขข้างต้นเป็นจริง } else คำสั่งเมื่อเงื่อนไขข้างต้นเป็นเท็จ $A = 2; if ($A == 2) { echo "ตัวแปรชื่อ A มีค่าเท่ากับ 2"; } else echo "ตัวแปรชื่อ A มีค่าไม่เท่ากับ 2"; Webpage Design and Programming Workshop
16
ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข
3. คำสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบสองทางเลือก (คำสั่ง if...else if ... ) คำสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบทางเลือกเดียว จะทำคำสั่งก็ต่อเมื่อ เงื่อนไขเป็นจริง และจะทำคำสั่งหลัง else ก็ต่อเมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ Webpage Design and Programming Workshop
17
ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข
if (เงื่อนไขที่ 1) { คำสั่ง เมื่อเงื่อนไขที่ 1 เป็นจริง } elseif (เงื่อนไขที่ 2) คำสั่ง เมื่อเงื่อนไขที่ 2 เป็นจริง else คำสั่ง เมื่อเงื่อนไขที่ 1 และ 2 เป็นเท็จ $A = 2; if ( $A == 2 ) { echo "ตัวแปรชื่อ A มีค่าเท่ากับ 2"; } elseif ($A==1) echo "ตัวแปรชื่อ A มีค่าเท่ากับ 1"; else echo"ตัวแปรชื่อ A มีค่าไม่เท่ากับ 1 และ 2"; Webpage Design and Programming Workshop
18
ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข
4. การตรวจสอบเงื่อนไขโดยใช้ switch เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับตรวจสอบเงื่อนไขเหมือนกับ if swicth ( ค่าตัวแปรที่ใช้ตรวจสอบ ) { case (ค่าที่ 1 ): คำสั่งที่จะทำเมื่อเงื่อนไขตรงกับค่าที่ 1 break; case (ค่าที่ 2 ): default: คำสั่งที่จะทำเมื่อเงื่อนไขไม่ตรงกับค่าใด ๆ เลย } Webpage Design and Programming Workshop
19
ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข
4. การตรวจสอบเงื่อนไขโดยใช้ switch $A = "ณ เชียงใหม่"; swicth ( $A ) { case ( "วัชรพงษ์" ): echo "ชื่อ"; break; case ( "ณ เชียงใหม่" ): echo "นามสกุล"; default: echo "อะไรก็ไม่รู้"; } Webpage Design and Programming Workshop
20
การส่งข้อมูลเพื่อการประมวลผล
สิ่งที่สำคัญสำหรับการเขียนโปรแกรมในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต คือการส่งข้อมูลจากเครื่องผู้ใช้โดยทั่วไป เพื่อเหตุผลต่าง ๆ ซึ่งทำให้ข้อมูลต่างๆของเว็บไซต์ มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ ดังนั้นการ submit ฟอร์มเพื่อส่งข้อมูลไปยังไฟล์โปรแกรม PHP การเก็บข้อมูลของผู้ใช้ของเครื่องให้บริการ หรือการกลั่นกรองข้อมูลเพื่อส่งออกแสดงผลยังเครื่องผู้ใช้ การส่งค่าผ่านทางเว็บเพจ ใน HTML จะมีการการส่งค่าได้ 2 รูปแบบ นั่นคือ Webpage Design and Programming Workshop
21
การส่งข้อมูลเพื่อการประมวลผล
1. Post เมื่อ submit ฟอร์มด้วย method=post ข้อมูลที่อยู่ภายใน Form จะถูกส่งไปเก็บไว้ในตัวแปรตัวหนึ่งใน Web Server ตัวแปรนี้คือ CONTENT_LENGTH ซึ่งในการ post นี้ จะใช้ในกรณีที่ข้อมูลมีปริมาณมาก 2. Get แต่ถ้าใช้ method = Get ค่าที่ได้จากการ submit จะส่งไปให้กับ PHP โดยผ่าน URL ไปเก็บไว้ในตัวแปร QUERY_STRING ของ Web Server ถ้าเปลี่ยนจาก method = Post เป็น Get เมื่อ submit ให้สังเกตที่ช่อง Address จะพบข้อมูลที่ส่งโดยมีรหัสต่าง ๆ แทรกไปด้วย ดังนี้ Webpage Design and Programming Workshop
22
การส่งข้อมูลเพื่อการประมวลผล
? เครื่องหมาย ? จะกั้นระหว่าง URL กับข้อมูล key = value ข้อมูลที่ถูกส่งมา & คั่นระหว่าง key = value แต่ละอุปกรณ์ (ถ้ามี key มากกว่า 1) + แทนที่ช่องว่าง Webpage Design and Programming Workshop
23
การส่งข้อมูลเพื่อการประมวลผล
ข้อแตกต่างระหว่าง Post และ Get GET การส่งข้อมูลแบบ GET = (โดยจะแสดงตัวแปร และค่าตัวแปรที่ส่ง) ข้อดีของ get คือ ไม่ต้องสร้างฟอร์ม ก็สามารถ ข้อเสีย คนอื่นสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย POST การส่งข้อมูลแบบ POST = ข้อดี มีความปลอดภัยมากกว่า Webpage Design and Programming Workshop
24
การติดต่อกับฐานข้อมูล MySQL
mysql_connect(host,user,pass); ฟังก์ชั่นใช้ในการติดต่อฐานข้อมูล mysql_db_query(Db,SQL); ฟังก์ชั่นส่งคำสั่งให้ภาษา SQL ประมวลผล mysql_fetch_array($result); ฟังก์ชั่นอ่านข้อมูลหนึ่งแถวใน ตารางเข้าเก็บในตัวแปร mysql_close(); ฟังก์ชั่นยกเลิกการติดต่อฐานข้อมูล Webpage Design and Programming Workshop
25
Question and Answer
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.