ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
วิธีพิจารณาคดีปกครอง ผอ. สำนักงานศาลปกครองเชียงใหม่
และ วิธีพิจารณาคดีปกครอง โดย ศรณรงค์ นิลสาริกา ผอ. สำนักงานศาลปกครองเชียงใหม่ 10/12/62
2
คดีที่อยู่ในอำนาจศาลปกครองชั้นต้น
7 กระทำการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ละเลย/ล่าช้า ละเมิดทางปกครอง / ความรับผิดอย่างอื่น สัญญาทางปกครอง กฎหมายกำหนดให้หน่วยงานทางปกครอง/ เจ้าหน้าที่ของรัฐฟ้องเพื่อบังคับบุคคลให้กระทำการ/ละเว้นการกระทำ กฎหมายกำหนดให้อยู่ในอำนาจของศาล ปกครอง 10/12/62
3
ประเภทที่หนึ่ง กระทำการโดยไม่ชอบด้วย กม.
ประเภทคดีปกครอง 7 ประเภทที่หนึ่ง กระทำการโดยไม่ชอบด้วย กม. (ม.9 วรรคหนึ่ง (1)) ประเภทการกระทำทางปกครองที่เป็นเหตุแห่งการฟ้องคดีประเภทนี้ กฎ คำสั่ง หรือการกระทำอื่น เหตุแห่งความไม่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่มีอำนาจ/นอกเหนืออำนาจหน้าที่/ ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย/ ไม่ถูกต้องตามรูปแบบขั้นตอนหรือวิธีการอันเป็นสาระสำคัญที่กำหนดไว้ / โดยไม่สุจริต /เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม / สร้างขั้นตอนโดยไม่จำเป็น /สร้างภาระเกินสมควร / ใช้ดุลพินิจโดยไม่ชอบ 10/12/62
4
คำสั่งทางปกครอง 7 1.คำสั่งทางปกครองโดยเนื้อหา มีลักษณะ 4 ประการ
มีลักษณะ 4 ประการ ต้องเป็นการใช้อำนาจสั่งการฝ่ายเดียวตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ต้องเป็นการใช้อำนาจในทางปกครอง ต้องมีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าเป็นการชั่วคราว/ถาวร ต้องมีผลเป็นการเฉพาะเรื่องเฉพาะราย เช่น คำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่นตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคารฯ ที่ให้รื้อถอนอาคารที่ก่อสร้างรุกล้ำที่สาธารณะ ฯลฯ 10/12/62
5
คำสั่งทางปกครอง 7 2.คำสั่งทางปกครองโดยผลของกฎหมาย
(กฎกระทรวง ฉ. 12/2543) การดำเนินการเกี่ยวกับการจัดหา/ให้สิทธิประโยชน์ในกรณี การสั่งรับ/ไม่รับ คำเสนอขาย รับจ้าง แลกเปลี่ยน ให้เช่า ซื้อ เช่า หรือให้สิทธิประโยชน์ การอนุมัติ สั่งซื้อ จ้าง แลกเปลี่ยน เช่า ขาย ให้เช่า หรือให้สิทธิประโยชน์ การสั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณาคำเสนอ หรือการดำเนินการในลักษณะเดียวกัน การให้/ไม่ให้ทุนการศึกษา 10/12/62
6
การกระทำอื่นใด การกระทำอื่นใด หมายถึง การกระทำนอกเหนือจากการออกกฎหรือคำสั่งทางปกครอง หรือคำสั่งอื่น ซึ่งอาจเป็นการกระทำที่เป็นปฏิบัติการ ทางปกครอง “ ปฏิบัติการทางปกครอง” คือ การใช้อำนาจตามกฎหมายเพื่อปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งด้วยการใช้แรงทางกายภาพ เช่น เจ้าพนักงานท้องถิ่นรื้ออาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงโดยผิดกฎหมาย 7 10/12/62
7
ประเภทที่สอง ละเลย/ล่าช้า
(ม.9 วรรคหนึ่ง (2)) ละเลยต่อหน้าที่ หมายถึง กฎหมายกำหนดให้หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐมีหน้าที่ต้องปฏิบัติ แต่เพิกเฉยไม่ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควร หมายถึง หน่วยงานทางปกครอง/เจ้าหน้าที่ของรัฐได้ดำเนินการตามที่กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติแล้ว แต่ยังไม่แล้วเสร็จจนพ้นกำหนดระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดหรือใช้เวลานานกว่าปกติวิสัย 7 10/12/62
8
ประเภทที่สาม ละเมิดทางปกครอง
ประเภทที่สาม ละเมิดทางปกครอง (ม.9 วรรคหนึ่ง (3)) 7 หน่วยงานทางปกครอง/เจ้าหน้าที่ของรัฐมีอำนาจหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด กระทำการตามหน้าที่ โดยการ ใช้อำนาจตามกฎหมาย ออกกฎ คำสั่งทางปกครองหรือ คำสั่งอื่น หรือ ละเลยต่อหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า ก่อให้เกิดความเสียหาย 10/12/62
9
ประเภทที่สาม ความรับผิดอย่างอื่น
ประเภทที่สาม ความรับผิดอย่างอื่น (ม.9 วรรคหนึ่ง (3)) 7 การที่กฎหมายให้อำนาจหน่วยงานทาง ปกครอง/เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำการใดๆ ตามอำนาจหน้าที่ แล้วก่อให้เกิดความเสียหายหรือกระทบต่อสิทธิของเอกชน เช่น การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ หรือ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตตั้งหรือปักเสาหรือเดินสายไฟฟ้าผ่านที่ของเอกชน ฯลฯ การก่อสร้างตามโครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ 10/12/62
10
ความหมายสัญญาทางปกครอง
ประเภทที่สี่ สัญญาทางปกครอง (ม.9 วรรคหนึ่ง (4)) ความหมายสัญญาทางปกครอง "สัญญาทางปกครอง" หมายความรวมถึง สัญญาที่คู่สัญญาอย่างน้อยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นหน่วยงานทางปกครองหรือเป็นบุคคลซึ่งกระทำการแทนรัฐ และมีลักษณะเป็นสัญญาสัมปทาน สัญญาที่ให้จัดทำบริการสาธารณะ หรือจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภค หรือแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ (ม.3) 7 10/12/62
11
1.สัญญาทางปกครองตามเนื้อหา (ม.3) มีองค์ประกอบ 2 ประการ ได้แก่
1.สัญญาทางปกครองตามเนื้อหา (ม.3) มีองค์ประกอบ 2 ประการ ได้แก่ คู่สัญญา เป็นหน่วยงานทางปกครอง หรือเป็นบุคคลซึ่งกระทำการแทนรัฐ เนื้อหาของสัญญา ต้องเป็นสัญญาที่จัดอยู่ใน 4 ประเภท ดังนี้ สัญญาสัมปทาน สัญญาที่ให้จัดทำบริการสาธารณะ สัญญาจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภค สัญญาที่ให้แสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ 1 2 3 4 7 10/12/62
12
7 2.สัญญาทางปกครองโดยสภาพ
สัญญาทางปกครองโดยสภาพ หมายถึง สัญญาที่ หน่วยงานทางปกครองหรือบุคคลซึ่งกระทำการแทนรัฐตกลงให้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเข้าดำเนินการหรือเข้าร่วมดำเนินการบริการสาธารณะโดยตรง หรือเป็นสัญญาที่มีข้อกำหนดในสัญญาซึ่งมีลักษณะพิเศษที่แสดงถึงเอกสิทธิ์ของรัฐ ทั้งนี้ เพื่อให้การใช้อำนาจทางปกครองหรือการดำเนินกิจการทางปกครองหรือบริการสาธารณะบรรลุผล (มติที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ครั้งที่ 6/2544) 5 10/12/62
13
1.สัญญาสัมปทาน 7 สัมปทาน หมายถึง การที่รัฐอนุญาตให้เอกชนจัดทำบริการสาธารณะหรือจัดทำประโยชน์เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ ภายในระยะเวลาและตามเงื่อนไขที่รัฐกำหนด สัญญาที่กรมไปรษณีย์โทรเลขให้เอกชนเช่าเครื่องวิทยุคมนาคมและอุปกรณ์วิทยุโทรคมนาคม พร้อมทั้งจัดสรรคลื่นความถี่ (คำสั่งที่ 190/2549) สัญญาดำเนินการบัตรโทรศัพท์ระหว่างประเทศของการสื่อสารแห่งประเทศไทย กับบริษัท เทเลการ์ด คอร์ปอเรชั่น จำกัด (คำวินิจฉัย 16/2550) 10/12/62
14
2.สัญญาที่ให้จัดทำบริการสาธารณะ
7 บริการสาธารณะ เป็นภารกิจที่รัฐมีหน้าที่จัดทำโดยอาศัยอำนาจรัฐหรืออำนาจมหาชน ทั้งที่รัฐเป็นผู้จัดทำเองหรือรัฐมอบหมายให้เอกชนเป็นผู้ดำเนินการจัดทำภายใต้การกำกับดูแลของรัฐ (มติที่ประชุมใหญ่ที่ 1/2549) ด้านการศึกษา เช่น สัญญาก่อสร้างโรงเรียน / สร้างศูนย์ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัย / สัญญาจ้างที่ปรึกษาในการออกแบบและควบคุมงานก่อสร้างอาคารของหน่วยงานทางปกครอง (คำวินิจฉัย 47/2547) / สัญญาลาศึกษา/ฝึกอบรม/เข้ารับการศึกษา ด้านการแพทย์ เช่น สัญญาซื้อขาย ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์การประมวลผลระบบคอมพิวเตอร์เพื่อติดตั้งในโรงพยาบาลของรัฐ (คำสั่ง 726/2547 (ป)) ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ เช่น สัญญาก่อสร้างหลักเทียบเรือเพื่อใช้เทียบเรือระบายพลขนาดใหญ่ของกองทัพเรือ (คำวินิจฉัยที่ 21/2546) /สัญญาซื้อขายร่มบุคคลโดดแบบสายดึงประจำที่พร้อมอุปกรณ์ (คำสั่งที่ 18/2550) 10/12/62
15
3.สัญญาจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภค
7 สาธารณูปโภค หมายถึง การบริการสาธารณะที่จัดทำขึ้นเพื่ออำนวยประโยชน์แก่ประชาชนในสิ่งอุปโภคที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต เช่น การไฟฟ้า การประปา ฯลฯ สัญญาก่อสร้างปรับปรุงอาคารโรงพยาบาลของรัฐ (คำวินิจฉัยที่ 10/2545) /จ้างวางท่อประปาภายในเขตเทศบาล (คำสั่งที่ 14/2545) สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินตาม พ.ร.ฎ.กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนเพื่อก่อสร้างถนน (คำสั่งที่ 9/2546) 10/12/62
16
4.สัญญาแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
สัญญาอนุญาตให้ขุดดินลูกรังในที่ดินของรัฐ (คำสั่งที่ 588/2548) 7 10/12/62
17
5.สัญญาที่ให้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเข้าดำเนินการหรือเข้าร่วมดำเนินงานบริการสาธารณะโดยตรง
สัญญาจ้างลูกจ้างของหน่วยงานทางปกครองในการจัดทำบริการสาธารณะ(คำสั่งที่ 545/2550) สัญญาฝากเก็บรักษามันสำปะหลังเส้นขององค์การคลังสินค้า (คำสั่งที่ 720/2549) /ฝากเก็บแปรสภาพ และจำหน่ายข้าวเปลือกขององค์การคลังสินค้า (คำสั่ง ที่ 611/2549) สัญญาจ้างเก็บขนขยะมูลฝอย (คำสั่งที่ 246/2550) 7 10/12/62
18
การสิ้นสุดการแสวงหาข้อเท็จจริง
17/1 ข้อเท็จจริงเพียงพอให้จัดทำบันทึก ต.เจ้าของสำนวนเสนอองค์คณะเพื่อพิจารณา (ข้อ 60) ให้ ต.หน.คณะมีคำสั่งกำหนดวันหนึ่งวันใดเป็นวันสิ้นสุดการแสวงหาข้อเท็จจริง (ข้อ 62) 3. แจ้งให้คู่กรณีทราบกำหนดวันสิ้นสุดการแสวงหาข้อเท็จจริงล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 10 วัน (ข้อ 62 วรรคสอง) 4. ผล บรรดาเอกสารหลักฐานต่างๆที่ยื่นต่อศาลหลังวันสิ้นสุดการแสวงหาข้อเท็จจริง ไม่ให้ศาลรับไว้เป็นส่วนหนึ่งของสำนวนคดี(ข้อ 62 วรรคสาม) 5. ส่งสำนวนคดีให้ ต.ผู้แถงคดีเพื่อจัดทำคำแถลงการณ์ (ข้อ 63) 10/12/62
19
10/12/62
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.