ลดปัญหาบัวปูนปั้น ( ไส้ Q Con ) แตก - ร้าว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ลดปัญหาบัวปูนปั้น ( ไส้ Q Con ) แตก - ร้าว"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ลดปัญหาบัวปูนปั้น ( ไส้ Q Con ) แตก - ร้าว

2 ทีมงาน N7 นายปรัชญ์ ปัญจาคะ หัวหน้าทีม ( PJ )
นายศิวะเวทย์ ยังพะกูล สมาชิก ( CE ) นายติศมา หอมชื่น สมาชิก ( CE ) น.ส.พรรณิภา เจริญสุข เถ้าแก่ ( บ.ทานตะวัน )

3 ที่มาและมูลเหตุจูงใจ
เนื่องจากปัจจุบันรายการ ผิวบัวปูนปั้นแตกหรือร้าว เป็นรายการที่ลูกค้ามีการแจ้งซ่อมมีสถิติสูงเป็นลำดับต้นๆและมีค่าใช้จ่ายสูงในการแก้ไขงานทีมงาน N7 จึงคิดที่จะทำโครงงาน TQM เพื่อหาวิธีการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว

4 วัตถุประสงค์ เพื่อลดความสูญเสียเรื่องเวลาที่ต้องใช้ “แก้ไขงาน”
เพื่อลดต้นทุนเรื่องวัสดุ ( สี ) และค่าแรงที่ต้องทำงานหลายครั้ง เพื่อพัฒนาช่างฝีมือแรงงาน ( ช่างสี ) เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในงานคุณภาพในมุมมองลูกค้า

5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เพื่อลดปัญหาการส่งมอบงานที่ล่าช้าให้กับโครงการ 2. การทำงานอย่างถูกต้องและได้คุณภาพ 3. รู้จักการทำงานเป็นทีมและมีการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ 4. สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า

6 กำหนดแผนปฏิบัติการ ( PDCA )
ขั้นตอนงาน แผน มีค.58 เมย.58 พค.58 มิย.58 กค.58 สค.58 กย.58 เกิดจริง w1 w2 w3 w4 PLAN  P A DO  CHECK  ACTION  Plan Actual

7 บัวแตก-ร้าว วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา/ปรับปรุงแผนภูมิก้างปลา อุปกรณ์
อุปกรณ์ไม่ครบ ใช้อุปกรณ์ผิดประเภท บัวแตก-ร้าว ขาดการควบคุมคุณภาพระหว่างการทำงาน ไม่ติดตั้งตามมาตรฐาน QC การเตรียมพื้นที่หน้างานไม่ดี ช่างไม่เข้าใจวิธีการทำงานที่ถูกต้อง วิธีการติดตั้งบัวปูนปั้น

8 Plan Do Action Check หาวิธีแก้ไขปัญหาที่พบเพิ่มเติม ในรอบถัดไป
นำปัญหาเรื่องบัวแตกร้าวมาคุยในทีมงาน TQM กำหนดระยะเวลาทำโครงการ TQM แบ่งความรับผิดชอบกันภายในทีม กำหนดขั้นตอนการติดตั้งบัว กำหนดระยะเวลาการประเมินผล สรุปผลการทำดำเนินการ กำหนดแปลงที่จะติดตั้งบัวด้วยวิธีการที่ถูกต้อง ติดตั้งบัวตามแปลงที่กำหนดด้วยวิธีการที่ถูกต้อง Plan Do หาวิธีแก้ไขปัญหาที่พบเพิ่มเติม ในรอบถัดไป แบ่งรอยร้าวออกเป็น 3 ประเภท ร้าวผิว ร้าวรอยต่อบัว ร้าวบัวติดผนัง ตรวจสอบจำนวนและแบ่งประเภทรอยร้าวรายแปลง Action Check

9 อุปกรณ์ที่ใช้ติดตั้ง

10 เหล็ก RB6

11 ระดับน้ำ

12 ค้อน

13 ตลับเมตร

14 ลูกหมู

15 สว่าน

16 เลื่อย

17 บัวหล่อสำเร็จ

18 ขั้นตอนการทำงาน ( Do )

19 ขั้นตอนการติดตั้งบัวปูนปั้น
1. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของบัวก่อนติดตั้งโดยบัวที่จะทำการติดตั้งต้องไม่ร้าว, ไม่บิ่น, ไม่แตก(บัวที่ใช้ในการติดตั้งต้องเป็นบัวชิ้นเดียวกันตลอดความยาวในกรณีที่ยาวไม่เกิน 3เมตร)

20 ขั้นตอนการติดตั้งบัวปูนปั้น
2. จับปุ่มก่อนติดตั้งบัวปูนเพื่อใช้เป็นตัวกำหนดระดับโดยให้ปุ่มต่ำกว่าผิวปูนฉาบ 5 mm เพื่อให้ฉาบแล้วบัวจมอยู่ในปูนฉาบและระยะของปุ่มห่างกันไม่เกิน 1.5 เมตร

21 ขั้นตอนการติดตั้งบัวปูนปั้น
3. พรมน้ำที่ผนังให้ชุ่มในตำแหน่งที่จะติดตั้งบัวเพื่อลดการดูดน้ำของผนังที่อาจทำให้ปูนกาวแตกร้าวได้

22 ขั้นตอนการติดตั้งบัวปูนปั้น
4. แต่งปูนกาวในตำแหน่งที่จะติดให้เรียบเพื่อเพิ่มการยึดเกาะของบัว

23 ขั้นตอนการติดตั้งบัวปูนปั้น
5. วัดระยะการติดตั้งเหล็ก RB6 ให้ได้ตามมาตรฐานโดยจุดเริ่มห่างจากริมบัวเข้ามา 15 cm และจุดถัดไปไม่เกิน 40 cm

24 ขั้นตอนการติดตั้งบัวปูนปั้น
6. ใช้ระดับน้ำในการหาระดับและแนวบัวขณะติดตั้งเพื่อให้บัวได้ระดับและได้ดิ่ง

25 ขั้นตอนการติดตั้งบัวปูนปั้น
7. ตอกเหล็กที่ใช้ยึดบัวเข้าผนังที่ความลึกประมาณ 1/3 ของความหนาอิฐและตอกให้ลึกจมผิวบัวไปประมาณ 5 mm

26 ขั้นตอนการติดตั้งบัวปูนปั้น
8. เก็บผิวหน้าและรอยต่อบัวให้เรียบด้วยปูนกาวเพื่อป้องกันเหล็กเป็นสนิม

27 VDO ขั้นตอนการติดตั้งบัว VDO ชมได้ที่เว็บ E-learning

28

29

30 ขั้นตอนการตรวจสอบ (Check)

31 ร้าวรอยต่อระหว่างบัว ร้าวรอยต่อระหว่างบัว-ผนัง ร้าวที่ผิวหน้าของบัว
ตารางเก็บสถิติงานบัวปูนปั้นรายแปลง( 1จุด นับเป็น 1 รายการ) ลำดับ แปลง แบบบ้าน วันที่ติดตั้งบัว ก่อนทำสีจริงงวด 9 ร้าวรอยต่อระหว่างบัว ร้าวรอยต่อระหว่างบัว-ผนัง ร้าวที่ผิวหน้าของบัว รวม 1 1D03 194CA1 18/1/2015  1 2  5 8 1D08 10/7/2015  3 4 3 1D09  2 5 1D10 20/7/2015  0  4 1D11 6 1D12 30/7/2015 7 1F12 15/2/2015 1A01 244CA1 15/5/2015  6 9 1A02 28/5/2015 10 1A03 15/7/2015  7 11 1A11 15/8/2015 12 1D02 20/1/2015  8 13 1D04 5/6/2015 14 1D05 15 1D06 20/6/2015

32 ร้าวรอยต่อระหว่างบัว ร้าวรอยต่อระหว่างบัว-ผนัง ร้าวที่ผิวหน้าของบัว
ตารางเก็บสถิติงานบัวปูนปั้นรายแปลง( 1จุด นับเป็น 1 รายการ) ลำดับ แปลง แบบบ้าน วันที่ติดตั้งบัว ก่อนทำสีจริงงวด 9 ร้าวรอยต่อระหว่างบัว ร้าวรอยต่อระหว่างบัว-ผนัง ร้าวที่ผิวหน้าของบัว รวม 16 1D07 244CA1 6/7/2015  1 2  5 8 17 1F04 10/6/2015  2 1 4 7 18 1F11 1/8/2015 19 1F13 17/2/2015  4 5 20 1H11 25/8/2015  6 9 21 1A04 285CA1 15/7/2015  3 22 1A05 18/7/2015 23 1A06 26/7/2015 24 1A07 13/7/2015 25 1A08 28/7/2015 6 26 1A10 27 1D01 285CAA 20/1/2015 28 1F02 20/6/2015 29 1F03 30 1F14

33 ร้าวรอยต่อระหว่างบัว ร้าวรอยต่อระหว่างบัว-ผนัง ร้าวที่ผิวหน้าของบัว
ตารางเก็บสถิติงานบัวปูนปั้นรายแปลง( 1จุด นับเป็น 1 รายการ) ลำดับ แปลง แบบบ้าน วันที่ติดตั้งบัว ก่อนทำสีจริงงวด 9 ร้าวรอยต่อระหว่างบัว ร้าวรอยต่อระหว่างบัว-ผนัง ร้าวที่ผิวหน้าของบัว รวม 31 1H12 285CAA 25/8/2015  0  3 3 32 1H13 30/9/2015 1  2 4 33 1A09 389CA1 10/8/2015 2  5 9 34 1A12 7 35 1A13 18/1/2015 10  16 36 1B02 10/6/2015  4 5 37 1B03 6 38 1B04 11/6/2015 39 1F01 15/6/2015 40 1F15 15/2/2015 41 1G01 25/7/2015 42 1G14  1  6 8 43 1H14 20/7/2015

34 หมายเหตุ แปลงที่เหลือทั้งหมดจะใช้วิธีการติดตั้งบัวตาม TQM วงรอบ 1

35 กราฟสถิติงานบัวปูนปั้นรายแปลง( 1จุด นับเป็น 1 รายการ)
0.43

36 กราฟสถิติงานบัวปูนปั้นรายแปลง( 1จุด นับเป็น 1 รายการ)
5.10 1.46 1.13

37 กราฟสถิติงานบัวปูนปั้นรายแปลง( 1จุด นับเป็น 1 รายการ)
3.58 1.25 1.33

38 กราฟสถิติงานบัวปูนปั้นรายแปลง( 1จุด นับเป็น 1 รายการ)
4.73 1.36 1.18

39 กราฟสถิติงานบัวปูนปั้นรายแปลง( 1จุด นับเป็น 1 รายการ)
5.10 1.46 1.13 0.43 1.18 1.36 4.73 3.58 1.25 1.33 ร้าวรอยต่อระหว่างบัว ร้าวรอยต่อระหว่างบัว-ผนัง ร้าวที่ผิวหน้าของบัว

40 ประเภทรอยแตกร้าว

41 ร้าวผิวหน้าบัว

42 ร้าวรอยระหว่างบัว

43 ร้าวรอยระหว่างบัวกับผนัง

44 Reference

45 แบบ 285CA1

46 แบบ 285CA1

47 แบบ 285CA1

48 แบบ 285CA1

49 แบบ 285CA1

50 แบบ 285CA1

51 สรุปผลการดำเนินการ ผลการดำเนินการ ในเรื่องบัวแตกร้าวนั้นยังคงมีรายการปรากฎอยู่ แต่ทางโครงการ N7 นั้นได้ควบคุมทั้งในเรื่องของมาตรฐานการทำงานและ ขั้นตอนการทำงาน อย่างดีที่สุดและจะใช้วิธีนี้ในการติดตั้งบัวในแปลงที่เหลือทั้งหมด ดังนั้นข้อมูลที่ได้มาจึงสามารถใช้เป็นแหล่งอ้างอิงสำหรับวิธีการติดตั้งบัวไส้ Q Con ได้ในโครงการอื่นๆต่อไป

52 The End


ดาวน์โหลด ppt ลดปัญหาบัวปูนปั้น ( ไส้ Q Con ) แตก - ร้าว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google