งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พัฒนาระบบ Seamless Refer พัฒนาระบบบริหารความเสี่ยง (Patient Safety)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พัฒนาระบบ Seamless Refer พัฒนาระบบบริหารความเสี่ยง (Patient Safety)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พัฒนาระบบ Seamless Refer พัฒนาระบบบริหารความเสี่ยง (Patient Safety)
ยุทธศาสตร์.... บูรณาการการบริหารจัดการด้านกำลังคนตามAAA service Model แผนงาน ……………………………………โครงการ คณะอนุกรรมการ service plan สูติกรรม……… Target /KPI No. เป้าหมาย : ลดอัตราตายของมารดา จาก PPH PIH KPI: อัตราส่วนมารดาตายไม่เกิน 34:100,000 LB , ลดการตายจาก PPH = 0 และ ลดการตายจาก PIH ลดลงจากเดิม 25% Situation/Baseline อัตราตราส่วนการตายของมารดาระดับประเทศ 19.1.ระดับเขต 43.2 : แสนการเกิดมีชีพ สูงสุดที่ A3 ( จังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส) :LB รองลงมา A1 ( ตรัง พัทลุง ) :LB และ A2 (สงขลา สตูล) :LB Strategy มาตรการ Strategy 1 พัฒนาระบบ Seamless Refer Strategy 2 พัฒนาระบบบริหารความเสี่ยง (Patient Safety) Strategy 3 ระบบการกำกับติดตาม Key Activity กิจกรรมหลัก มีการดำเนินงาน PNC -ระบบ Fast track Refer Timing CPG -จัด Zoning สูติแพทย์ จัดระบบ Direct consuilt ( one Province one labour room ) มี Referal Audit -ระบบการเยี่ยมบ้านตั้งครรภ์ถึงหลังคลอด ระบบคัดกรองและการวิเคราะห์ความเสี่ยง ใช้ Trigger tool ในการทบทวน เวชระเบียน ใช้ RCA 5 step ทบทวนอุบัติการณ์ - กำหนดนโยบาย โดย MCH Board - การขับเคลื่อนบูรณาการ Service Plan -การนิเทศหน้างาน /เยี่ยมเสริมพลังตามมาตรฐาน -กำกับติดตาม ในการประชุมกรรมการบริหาร ทุกระดับ -ติดตาม case High Risk ต่อเนื่องถึงหลัง คลอดในชุมชน Small Success ไตรมาส 1 1 ประชุมจัดระบบ Referในระดับเขต 2 วางระบบรายงานและทบทวน อัตราการปฏิบัติตาม CPG อัตราการชะลอการรับ refer ไตรมาส 2 -ดำเนินงานและติดตาม การทบทวน เวชระเบียน -ติดตามตัวชี้วัด ไตรมาส 3 -วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ไตรมาส 4 -ติดตามและประเมินผล 1.MMR < 34:100,000 LB 2. ลดการตายจาก PPH =0 3. ตายจาก PIH ลดลงจากเดิม 25% 2P = personal ,patient

2 พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินและระบบส่งต่อ ปี 2563
ยุทธศาสตร์ที่๒...บริการเป็นเลิศ Service Excellence. แผนงานที่๗ การพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ โครงการ..... การพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินและระบบส่งต่อ ปี 2563 พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินและระบบส่งต่อ ปี 2563 Target เป้าหมาย : .. . อัตราเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน (triage level 1) ภายใน 24 ชม. ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 ไม่เกินร้อยละ 12 (Trauma<12%, Non-trauma<12%) KPI: อัตราเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินภายใน24 ชม=7.28 % 11) ร้อยละผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินมาโดย EMS = 11.98% 2) ภาวะผู้ป่วยล้นในห้องฉุกเฉิน > 60% ไม่ฉุกเฉิน 3) ร้อยละ ของ Adverse Event ในห้องฉุกเฉินป้องกันได้ 4) ขาดแพทย์ EP , ENP , Paramedic,ประสาทศัลยแพทย์, ศัลยแพทย์ 5) ร้อยละของโรงพยาบาลระดับ F2 ที่มี ECS คุณภาพ = ) อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยในที่มีค่าPS > 0.75ได้รับการทำroot cause analysis = )อัตราของผู้ป่วยTraumaเข้าห้องผ่าตัดภายใน 60 นาที=29.31% 8)อัตราTEA unit ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80=60 % Situation/Baseline กลยุทธ์ ER คุณภาพ การจัดการสาธารณภัยในสถานพยาบาล การพัฒนาบุคลากร ระบบข้อมูล การป้องกัน ลดอัตราการเสียชีวิตของโรคที่เกิดจากอุบัติเหตุที่สำคัญและมีความรุนแรง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดระยะเวลาการเข้าถึงบริการ definite care เพิ่มประสิทธิภาพและมาตรฐานของระบบการแพทย์ฉุกเฉิน แนวทาง/Key Activity กิจกรรมหลัก ประเมิน ECS คุณภาพ, TEA unitและวิเคราะห์ปัญหาตัวชี้วัดที่ไม่ตามเป้า ปรับเกณฑ์ ECS คุณภาพให้สูงขึ้น นำเครื่องมือประเมิน TEA unit (outcome based) มาพัฒนา ฝึกอบรมการใช้ Hospital Safety Index, Hospital Preparedness for Emergencies(HOPE) จัดทำแผนอัตรากำลัง EP, EN/ENP, Paramedic และสาขาที่เกี่ยวข้อง วางแผนการผลิต อบรมหลักสูตรCLS, MERT, TEA unit, Emergency Department Management บูรณาการ IS/PHER/ITEMS/HIS ยึดการใช้ข้อมูลแฟ้ม ACCIDENT แนวทางการจัดทำรายงานตัวชี้วัด ประสาน HDC เพื่อปรับปรุงระบบข้อมูล จัดทีมนิเทศ data management ลงพื้นที่ ขับเคลื่อน DHS-RTI ระดับอำเภอ จัดการข้อมูลระดับอำเภอ การสอบสวน Case การมีส่วนร่วมทีมสหสาขา + ศปถ.อำเภอ การชี้เป้าจุดเสี่ยง การขับเคลื่อนให้เกิด RTI Team มาตรการชุมชน/ ด่านชุมชน มีแผนงาน/โครงการ การสื่อสารความเสี่ยง สรุปผลดำเนินงาน Ambulance Safety ประสานงาน/สนับสนุน/ร่วมจัดการฝึกอบรม กำหนดเป็นนโยบายของเขตสุขภาพ จัดทำแผนความเสี่ยงทั้งในระดับจังหวัดและเขตสุขภาพ บูรณาการข้อมูลในระดับเขต/ จังหวัด โดยใช้แฟ้ม ACCIDENT เป็นหลัก มีการวิเคราะห์และใช้ข้อมูลเพื่อการพัฒนาในระดับเขต แผนระดับโรงพยาบาลER คุณภาพ มาตรการลดภาวะห้องฉุกเฉินแออัด ดำเนินการตามแนวปฏิบัติ ER Safety (2P Safety) ER Quality Improvement (Audit) ผลักดันกระบวนการผ่าน TEA unit ประเมินความเสี่ยง Hospital Safety Index จัดทำแผนการจัดการสาธารณภัย/แผนประคองกิจการสาธารณภัย/แผนอพยพผู้ป่วย และซ้อมแผน ผลักดันกระบวนการผ่าน TEA unit TEA unit มีการวิเคราะห์และใช้ข้อมูลเพื่อการพัฒนา ส่งออกข้อมูลแฟ้มACCIDENT ให้ได้ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน มีเกณฑ์ประเมิน TEA unit ในมิติต่างๆ โดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของโครงการที่ผลักดันผ่านการทำงานของ TEA unit มีการชี้แจง/ฝึกอบรม ตัวชี้วัด, เกณฑ์การประเมิน ECS/ TEA unit ซึ่งเน้นวัด outcome หรือ value-based ครบทุกเขตสุขภาพ มีการจัดการฝึกอบรมกระบวนการเพื่อให้ได้แฟ้ม ACCIDENT ที่มีคุณภาพ ถูกต้อง ทันเวลา (ทีมนิเทศ data management) ครบทุกเขตสุขภาพ มีรายงาน และวิธีการออกรายงานมาตรฐานที่สามารถวัดผลการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ECS one page summary) เพื่อลดภาระงานของ TEA unit อัตราเสียชีวิตของผู้ป่วย triage level 1 ภายใน 24 ชม. ในรพ. A, S, M1 <12% (Trauma<12%, Non-trauma<12%) อัตราของผู้ป่วย trauma triage level 1 และมีข้อบ่งชี้ในการผ่าตัด ในรพ. A, S, M1 สามารถเข้าห้องผ่าตัดได้ภายใน 60 นาที >70% ร้อยละผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินมาโดยEMS >25% อัตราเสียชีวิตของผู้ป่วย triage level 1 ภายใน 24 ชม. ในรพ. A, S, M1 <10% (Trauma<10%, Non-trauma<10%) อัตราของผู้ป่วย trauma triage level 1 และมีข้อบ่งชี้ในการผ่าตัด ในรพ. A, S, M1 สามารถเข้าห้องผ่าตัดได้ภายใน 60 นาที >80% ร้อยละผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินมาโดยEMS >30%

3 เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
เป้าหมาย ประชาชนสุขภาพดี ไม่เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ตัวชี้วัด คัดกรองเบาหวาน/ความดัน อายุมากกว่า 35 ปี เบาหวานที่ควบคุมได้ดี/ ความดันที่ควบคุมได้ดี/ ประเมิน CVD risk สถานการณ์ ร้อยละของประชากรที่อายุมากกว่า 35ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน ( 86.32)/ความดัน ( 86.83) อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง 1.63 ( 1.98)/ความดัน รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง 4.31 ( 3.97) เบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลได้ดี 22.56( 26.88)/ควบคุมความดันได้ดี (41.70) ผู้ป่วยได้รับการประเมิน CVD risk ( 85.84) นโยบาย /สร้างเสริมสุขภาพ พัฒนาคุณภาพบริการ ประสิทธิภาพการบริการ พัฒนาบุคลากร ยุทธศาสตร์ ชมรมสุขภาพ ผู้บริหาร เป็น idol Health literacy ลดหวาน/มัน/ เค็ม / เนือยนิ่ง ค้นหากลุ่มเสี่ยง/ CVD Risk คัดกรองภาวะแทรกซ้อน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม SMBG/ Home BP Case manager System manager นักกำหนดอาหาร แพทย์เฉพาะทางตามระดับ พัฒนามาตรฐาน NCD clinic plus พัฒนา NCD คุณภาพ ระดับ รพ.สต. กิจกรรมหลัก Q1 Q2 Q3 Q4 คัดกรองDM/HTN ร้อยละ 85 ประเมิน CVD risk ร้อยละ 85 คัดกรองDM/HTN ร้อยละ 90 ประเมิน CVD risk ร้อยละ 87.5 คัดกรองDM/HTN ร้อยละ 95 ประเมิน CVD risk ร้อยละ 90 DM/HTN ควบคุมได้ดี ร้อยละ 40/50 คัดกรองDM/HTN ร้อยละ 80 ประเมิน CVD risk ร้อยละ 82.5 ระดับความสำเร็จ

4 หลอดเลือดสมอง นโยบาย /สร้างเสริมสุขภาพ พัฒนาคุณภาพบริการ
เป้าหมาย ประชาชนสุขภาพดี ไม่เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ตัวชี้วัด อัตราการตายผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองน้อยกว่าร้อยละ 7 รพ.ระดับ A, S, M1 มี Stroke Unit ครบ 100% สถานการณ์ ในเขตสุขภาพที่ 12 มี SU = 80% (ขาดปัตตานี และเบตง) SU ผ่านการประเมิน 80% / รพ.ระดับ A ผ่านการประเมิน SSCC = 100% พบว่าอัตราการตายผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 6.43 (8.2) พบอัตราการตายของผู้ป่วยหลอดเลือดสมองแตก ร้อยละ อัตราการตายของผู้ป่วยหลอดเลือดสมองตีบตัน ร้อยละ 3.20 นโยบาย /สร้างเสริมสุขภาพ พัฒนาคุณภาพบริการ ประสิทธิภาพการบริการ พัฒนาบุคลากร ยุทธศาสตร์ Stroke Nurse - Basic/ Advance - CM - Neuro Med/ Neuro Surg ความทันเวลาการเข้าถึงบริการ ความพร้อม เพียงพอ Stroke Unit ส่งเสริมการเข้าถึงยา rt-PA มาตรฐานบริการ -SU -SSCC -Angle Award Stroke Alert ควบคุม CVD Risk factor กิจกรรมหลัก ทุก Q1 Q2 Q3 Q4 อัตราตายผู้ป่วย STROKE น้อยกว่าร้อยละ 6 DTN ภายใน 60 นาที มากกว่า ร้อยละ 65 รพ.ระดับ A, S, M1 มี Stroke Unit ครบ 100% รพ. ทุกระดับผ่านเกณฑ์ SU/ ผ่านเกณฑ์ SSCC อัตราตายผู้ป่วย STROKE น้อยกว่าร้อยละ 7 DTN ภายใน 60 นาที มากกว่า ร้อยละ 50 อัตราตายผู้ป่วย STROKE น้อยกว่าร้อยละ 6.5 DTN ภายใน 60 นาที มากกว่า ร้อยละ 55 อัตราตายผู้ป่วย STROKE น้อยกว่าร้อยละ 6.25 DTN ภายใน 60 นาที มากกว่า ร้อยละ 60 ระดับความสำเร็จ

5 A1 A2 A3 อัตราตาย=7.02 su=30 อัตราเข้าSU สงขลา=55.5/ สตูล=55.49
อัตราตาย=4.84 su=19 อัตราเข้าถึงSU ตรัง=40.43 พัทลุง=75.52 A3 อัตราตาย=7.34 su=18 อัตราเข้าSUยะลา=77.3 /นรา=70.25

6 ยุทธศาสตร์ แผนงาน พัฒนาการดูแลผู้ป่วย STEMI โครงการ คณะอนุกรรมการ…SP Cardiac…… Target / เป้าหมาย : ลดอัตราการเสียชีวิต STEMI KPI: ..< 10 % KPI No. การรักษาSTEMI เน้นการใช้ SK เนื่องจากมีข้อจำกัดของจำนวนแพทย์ intervention Zoning ของการดูแลผู้ป่วย STEMI ไม่ครอบคลุมทุกจังหวัดที่การเข้าถึงแพทย์ เฉพาะทาง เช่น ปัตตานี นราธิวาส ต้องใช้เวลามากกว่า 2 ชั่วโมงในการส่งต่อ และ ผู้ป่วยไม่รู้ว่าอาการที่ต้องไปรพ. ทำให้อาการรุนแรงเมื่อไปถึงรพ.Kipllip % ทำให้โอกาสเสียชีวิตสูง Situation/Baseline dk Strategy มาตการ Strategy 1 1.เพิ่มการเข้าถึง PPCI ของผู้ป่วย STEMI ………………………………………………………… Strategy 2 2.พัฒนาการใช้ยา SK เป็น TNK ………………………………………………………………………. Strategy 3 3.พัฒนา primary prevention …………………………………………………………………… Key Activity กิจกรรมหลัก ---ปรับระบบการทำ PPCI ในรพ.ระดับ A เน้นในเวลาราชการให้ได้ 100% -จัด zoning รพ.ที่ใช้เวลา 45 นาทีในการเดินทางสู่รพศ.เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าถึง PPCI -รพ.ที่ไม่สามารถเข้าถึง PPCI มีระยะทางเดินทางเกิน 2 ชั่วโมง พัฒนาให้มีการใช้ยา TNK เพิ่มขึ้น เนื่องจาก อัตราความสำเร็จในการเกิดหลอดเลือดสูงกว่า มีcontraindication น้อยกว่า SK และลดเวลาในการส่งต่อ เชื่อมโยงกับการดูแลผู้ป่วย NCD ในรพ.ทุกระดับ เพื่อคัดกรองและประเมินความเสี่ยง มีระบบส่งต่อ ทำให้กลุ่มเสี่ยงเข้าถึงแพทย์เฉพาะทางในการตรวจพิเศษเพิ่มขึ้น วางแผนการรักษา เพื่อชะลอความรุนแรงของโรค เพิ่มความตระหนักของกลุ่มเสี่ยงในการรับรู้ถึงอาการที่ควรเข้าถึงรพ. และ ระบบEMS Small Success Small success ไตรมาส 1 PPCI 80 % ใน 8/5 Small success ไตรมาส 2 TNK 10% ของรพ.เป้าหมาย Killip 3-4 ลดลง 5% Small success ไตรมาส 3 PPCI 100 % ใน 8/5 Small success ไตรมาส 4 TNK 20% ของรพ.เป้าหมาย Killip 3-4 ลดลง 10%

7


ดาวน์โหลด ppt พัฒนาระบบ Seamless Refer พัฒนาระบบบริหารความเสี่ยง (Patient Safety)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google