ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ความต้องการและแรงจูงใจ
Needs : เป็นความจำเป็น หรือความอยากมีอยากเป็น ได้แก่ ปัจจัย 4, ความต้องการทางเพศ, ความ ต้องการทั่วไป และความอยากมีอยากเป็น Want : เป็นเป้าหมายหรือวิธีการของแต่ละบุคคลที่จะ สนองความจำเป็นและความอยากของเขา Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit
2
ลักษณะความต้องการของผู้บริโภค
ความต้องการไม่ใช่ความบกพร่อง 2. ความต้องการเป็นรากฐานการกระทำของผู้บริโภค 3. ความต้องการของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงได้ 4. ผู้บริโภคมีการตระหนักถึงความต้องการไม่เหมือนกัน 5. ความต้องการสามารถสนองได้ด้วยผลิตภัณฑ์มากกว่าหนึ่งอย่าง Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit
3
ประเภทความต้องการของผู้บริโภค
1. ความต้องการปฐมภูมิ : เป็นความต้องการด้านร่างกาย 2. ความต้องการทุติยภูมิ : เป็นความต้องการด้านสังคม Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit
4
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
ความต้องการของมนุยษ์ในสายตาของมาสโลว์ 1. มนุษย์มีความต้องการไม่สิ้นสุด 2. ความต้องการมนุษย์เรียงลำดับขั้น 3. ความต้องการที่ได้รับการตอบสนองแล้ว จะไม่จูงใจ ให้เกิดพฤติกรรมเดิมต่อไป Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit
5
ทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์
ลำดับความต้องการของมนุษย์มี 5 ขั้น คือ 1. ความต้องการด้านชีวภาพ หรือด้านร่างกาย 2. ความต้องการด้านความปลอดภัยมั่นคง 3. ความต้องการด้านความรักและการยอมรับจากสังคม 4. ความต้องการด้านเกียรติยศ ชื่อเสียง การยกย่อง 5. ความต้องการความสำเร็จสนชีวิต Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit
6
ความต้องการด้านประโยชน์หน้าที่และอารมณ์
Functional Needs Identity Needs Emotional Needs
7
แรงจูงใจ สิ่งกระตุ้น ความต้องการ แรงขับหรือ แรงจูงใจ พฤติกรรม
Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit
8
มีรากฐานจากความต้องการ (need)
ลักษณะของแรงจูงใจ มีรากฐานจากความต้องการ (need) 2. เป็นตัวลดความตึงเครียด (tension reduction) 3. แรงจูงใจเป็นแรงขับผลักดันให้เกิดพฤติกรรม 4. แรงจูงใจเป็นสิ่งที่มีเป้าหมาย Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit
9
ทฤษฎีการจูงใจของแม็คเคลแลนด์
ความต้องการประสพความสำเร็จ ความต้องการความรักความผูกพัน ความต้องการอำนาจบารมี
10
ความขัดแย้งของแรงจูงใจ
ความขัดแย้งแบบ บวก-บวก ความขัดแย้งแบบ ลบ-ลบ ความขัดแย้งแบบ บวก-ลบ
11
กลวิธานป้องกันตนเอง (Defense Mechanisms)
คือ ทางออกหรือการแสดงต่างๆ อันเนื่องจากมีความเครียดแต่ไม่สามารถลดความเครียดนั้นได้ เพราะ ไม่สามารถสำเร็จในเป้าหมายที่ตนอยากมีอยากเป็นนั้น จึงแสดงพฤติกรรมอื่นๆ ออกมา Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit
12
ลักษณะของกลวิธานป้องกันตนเอง
1. กลบเกลี่อน ( Reaction-Formation) 2. หาเหตุผลเข้าข้างตัวเอง (Rationalization) 3. แสดงการกระทำที่ก้าวร้าว (Aggressions) 4. การทดแทน (Substitution) 5. การถอยหนี (Withdrawal) 6. โยนความคิดความรู้สึกไปทึ่คนอื่น (Projection) 7. ความผิดปกติทางกาย (Conversion) 8. การฝันกลางวัน ( Day Dream or Fantasy) 9. การเก็บกด (Repression) Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.