งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
 บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย การอบรมเชิงปฏิบัติการ เครือข่ายท้องถิ่น มศว พฤศจิกายน 2558

2 Little Scientist’s House – Learning while Play

3 กิจกรรมจุดประกาย เป่าโป่ง
กิจกรรมจุดประกาย เป่าโป่ง

4 เป่าลูกโป่งในขวด และ นอกขวด เหมือนกันหรือไม่ เพราะเหตุใด

5 ลักษณะของกิจกรรม การค้นพบ การวิจัย การทดลอง

6 ใบกิจกรรมการทดลอง น้ำ อากาศ บัตรการค้นพบ 7 กิจกรรม
 น้ำ อากาศ บัตรการค้นพบ 7 กิจกรรม บัตรการวิจัย 2 กิจกรรม บัตรการค้นพบ 7 กิจกรรม บัตรการวิจัย 2 กิจกรรม

7 วัตถุประสงค์ของการอบรม
ผู้เข้ารับการอบรมสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องอากาศด้วยกระบวนการค้นพบและวิจัย ผู้เข้ารับการอบรมสามารถออกแบบและพัฒนาโครงงานที่ใช้กระบวนการวิจัยที่นักเรียนมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการ

8 ใบกิจกรรม เรื่อง อากาศ
 บัตรค้นพบ บัตรวิจัย รู้จักอากาศด้วยประสาทสัมผัส อากาศมีตัวตน อากาศมีแรงกระทำ สร้างกระแสลม อากาศร้อน อากาศเย็น สูดอากาศเข้าปอด อากาศและน้ำ อากาศอยู่ในฟองสบู่เท่าใด ลมเดินทางไปทางไหน

9 บัตรการค้นพบ รู้จักอากาศด้วยประสาทสัมผัส
บัตรการค้นพบ รู้จักอากาศด้วยประสาทสัมผัส

10 พึบ......... มีอะไรอยู่ข้างในลูกโป่ง
เมื่อสัมผัสลมที่ออกมาจากลูกโป่งรู้สึกอย่างไร ได้ยินเสียงอะไรหรือไม่

11 การกางร่มและหุบร่มตอนวิ่ง ให้ความรู้สึกเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
สัมผัสอากาศ การกางร่มและหุบร่มตอนวิ่ง ให้ความรู้สึกเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร

12 ฟังเสียงอากาศ เครื่องสูบลมทำงานอย่างไร
ลมที่สูบเข้าแล้วปล่อยออกจะมีเสียงอย่างไร ทดลองเป่าลูกโป่งแล้วค่อย ๆ ปล่อยลมออกด้วยวิธีต่าง ๆ เสียงที่เกิดขึ้นเหมือนหรือต่างกันอย่างไร

13 เห็นอากาศ เราจะเก็บอากาศให้เต็มถุงได้อย่างไร
มีสิ่งของใดอีกบ้างที่บรรจุ อากาศได้

14 รู้จักอากาศด้วยประสาทสัมผัส
กิจกรรมที่ 1: พึบ..... แนวคิด..อากาศที่เคลื่อนที่ทำให้เกิดลม และการเคลื่อนที่ของอากาศผ่านขนาดของรู หรือ วัสดุที่ต่างกัน จะมีเสียงต่างกัน กิจกรรมที่ 2: สัมผัสอากาศ แนวคิด..อากาศมีตัวตน ซึ่งสามารถรู้สึกได้ เมื่ออากาศมาปะทะกับตัวเรา กิจกรรมที่ 3: ฟังเสียงอากาศ แนวคิด.. อากาศไม่ใช่ความว่างเปล่า เราได้ยินเสียงของอากาศได้ และอากาศมีรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุ กิจกรรมที่ 4: เห็นอากาศ แนวคิด..อากาศต้องการที่อยู่ เราและเราสามารถเก็บอากาศไว้ได้

15 บัตรการค้นพบ อากาศมีตัวตน
บัตรการค้นพบ อากาศมีตัวตน

16 ลองเอามือบีบขวด บีบให้แบนได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
ในขวดใบนี้มีอะไร ลองเอามือบีบขวด บีบให้แบนได้หรือไม่ เพราะเหตุใด

17 เป่าลูกโป่งในขวด และ นอกขวด เหมือนกันหรือไม่ เพราะเหตุใด

18 เป่าลูกบอลเข้าไปในขวดได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
ยิงลูกบอล เป่าลูกบอลเข้าไปในขวดได้หรือไม่ เพราะเหตุใด

19 เติมน้ำลงในขวด เมื่อนำดินน้ำมัน ปิดช่วงว่างระหว่างขวดกับกรวย สามารถเติมน้ำลงไปในชวดได้หรือไม่ เพราะเหตุใด

20 เกลียวทอร์นาโด เกิดจากอะไร
ขวดทอร์นาโด เกลียวทอร์นาโด เกิดจากอะไร

21 อากาศมีตัวตน กิจกรรมที่ 1: อากาศต้องการที่อยู่ แนวคิด..อากาศมีตัวตน ต้องการที่อยู่ ขวดเปล่ามีอากาศอยู่ภายใน จึงไม่สามารถบีบได้ กิจกรรมที่ 2: เป่าโป่ง/ยิงบอล แนวคิด..อากาศมีตัวตน ต้องการที่อยู่ ในขวดมีอากาศอยู่ภายใน ทำให้อากาศข้างนอกเข้าไปไม่ได้ กิจกรรมที่ 3:ขวดที่เต็มด้วยอากาศ แนวคิด.. อากาศมีตัวตน ต้องการที่อยู่ ทำให้เราไม่สามารถเติมน้ำลงในขวดได้ เพราะมีอากาศภายในขวด กิจกรรมที่ 4: ขวดทอร์นาโด แนวคิด.. เทอร์นาโดในขวดเกิดได้ เพราะอากาศถูกแทนที่

22 บัตรการค้นพบ อากาศมีแรงกระทำ
บัตรการค้นพบ อากาศมีแรงกระทำ

23 ตอนที่วิ่งกับหยุดวิ่ง ถุงมีลักษณะอย่างไร เพราะเหตุใด
วิ่งถุง ตอนที่วิ่งกับหยุดวิ่ง ถุงมีลักษณะอย่างไร เพราะเหตุใด

24 การดึงหมาน้อยขึ้นจากพื้น ทำได้ง่ายหรือไม่ เพราะเหตุใด
หมาน้อยหัวดื้อ การดึงหมาน้อยขึ้นจากพื้น ทำได้ง่ายหรือไม่ เพราะเหตุใด

25 มายากลหนังสือพิมพ์ เกิดอะไรขึ้น เมื่อทุบไม้บรรทัดที่ว่างบนโต๊ะครึ่งหนึ่ง เกิดอะไรขึ้น ถ้าไม้บรรทัดถูกทับด้วยกระดาษหนังสือพิมพ์

26 ดูดขวด ใช้ปากขวดหรือแก้วพลาสติกครอบริมฝีปากไว้ แล้วดูดอากาศออกจากขวด สังเกตว่าเกิดอะไรขึ้น ตัวดูด ทำงานอย่างไร

27 อากาศมีแรงกระทำ กิจกรรมที่ 1: วิ่งถุง แนวคิด.. เมื่ออากาศเคลื่อนที่ จะมีแรงกระทำต่อวัตถุ (แรงดัน) กิจกรรมที่ 2: หมาน้อยหัวดื้อ แนวคิด..อากาศมีแรงดัน อากาศดันกระดาษหนังสือพิมพ์ไว้ ทำให้ไม่สามารถยกกระดาษหนังสือพิมพ์ขึ้นได้ กิจกรรมที่ 3: มายากลหนังสือพิมพ์ แนวคิด..อากาศมีแรงกด พื้นที่มากแรงกดมาก ทำให้เราไม่สามารถใช้ไม้บรรทัดยกกระดาษขึ้นได้ กิจกรรมที่ 4: ดูดขวด แนวคิด..ปริมาณอากาศที่ต่างกันทำให้เกิดแรงดัน ซึ่งนำหลักการนี้มาใช้ในการสร้างตัวดูด

28 บัตรการค้นพบ อากาศและน้ำ
บัตรการค้นพบ อากาศและน้ำ

29 จดหมายในขวด ขวดลอยน้ำได้อย่างไร

30 อากาศย้ายจากแก้วใบหนึ่งไปยังแก้วอีกใบหนึ่งได้อย่างไร
ถ่ายอากาศใส่แก้ว อากาศย้ายจากแก้วใบหนึ่งไปยังแก้วอีกใบหนึ่งได้อย่างไร

31 เรือดำน้ำลอยขึ้นมาได้อย่างไร
กู้เรือดำน้ำ  เรือดำน้ำลอยขึ้นมาได้อย่างไร

32 นักประดาน้ำ ดำลงสู่ใต้น้ำ และ ลอยตัวขั้นมาได้อย่างไร

33 เรือดำน้ำ

34 Buoyancy Control Device (BCD)
นักประดาน้ำ Buoyancy Control Device (BCD)

35 อากาศและน้ำ กิจกรรมที่ 1: จดหมายในขวด แนวคิด.. กระตุ้นให้สงสัยว่าขวดลอยน้ำได้อย่างไร กิจกรรมที่ 2: ถ่ายอากาศใส่แก้ว แนวคิด.. สังเกตการแทนที่อากาศในน้ำ อากาศจะอยู่เหนือน้ำ หรือ อากาศเบากว่าน้ำ กิจกรรมที่ 3: กู้เรือดำน้ำ แนวคิด.. สังเกตการจมลอยของวัตถุที่บรรจุอากาศปริมาณแตกต่างกัน เมื่อมีอากาศเยอะขึ้น วัตถุจะเบาลง และลอยเหนือน้ำ กิจกรรมที่ 4: นักประดาน้ำ แนวคิด.. ปริมาณอากาศในวัตถุมีผลต่อการจมลอยของวัตถุโดยวัตถุที่มีอากาศจุอยู่มากจะลอยได้ดีกว่าอากาศน้อย

36 บัตรการค้นพบ อากาศร้อนและ อากาศเย็น
บัตรการค้นพบ อากาศร้อนและ อากาศเย็น

37 เกิดอะไรขึ้น กับเหรียญบนปากขวด เพราะเหตุใด
ปีศาจขวด เกิดอะไรขึ้น กับเหรียญบนปากขวด เพราะเหตุใด

38 เกิดอะไรขึ้นกับลูกโป่ง เพราะเหตุใด
ปีศาจขวด  เกิดอะไรขึ้นกับลูกโป่ง เพราะเหตุใด

39 เกิดอะไรขึ้น เมื่อนำขวดเปล่า ไปแช่เย็น
ขวดแช่เย็น เกิดอะไรขึ้น เมื่อนำขวดเปล่า  ไปแช่เย็น

40 ม่านงูเต้นรำและโคมลอย
ม่านงูเต้นรำได้อย่างไร เพราะเหตุใดโคมจึงลอย

41 มาเล่นเป็นอากาศร้อน อากาศเย็น
อนุภาคของอากาศอยู่กันอย่างไร ในอากาศที่อุณหภูมิต่างกัน

42 อากาศร้อนและอากาศเย็น
กิจกรรมที่ 1: มาเล่นเป็นอากาศ แนวคิด..อากาศประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ เมืออากาศร้อนอนุภาคอยู่ห่างกัน อากาศเย็นอยู่ใกล้กัน กิจกรรมที่ 2: ปีศาจขวด แนวคิด..อากาศร้อนขยายตัว เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น อากาศขยายตัว กิจกรรมที่ 3: ขวดบุบบี้ แนวคิด..อากาศเย็นหดตัว เมื่ออุณหภูมิลดลง อากาศหดตัว กิจกรรมที่ 4: ม่านงูและโคมลอย แนวคิด..อากาศร้อนเคลื่อนที่ดข้นด้านบน

43 บัตรการค้นพบ สูดอากาศเข้าปอด
บัตรการค้นพบ สูดอากาศเข้าปอด

44 หายใจให้ทั่วท้อง การหายใจผ่านสิ่งของแตกต่างจากการหายใจแบบปกติหรือไม่ และเกิดเสียงอะไรขึ้น

45 ได้ยิน สัมผัส และเห็นลมหายใจ
ผ่อนคลาย หายใจเข้าออกยาว ๆ สังเกตลมหายใจ และการเคลื่อนไหวของอกและช่องท้อง เราหายใจกี่ครั้งต่อนาที เปรียบเทียบจำนวนครั้งและการหายใจ เพศต่างกัน ทำกิจกรรมที่แตกต่างกัน

46

47 ปอดของเรามีความจุเท่าใด
อุปกรณ์วัดลมหายใจ ปอดของเรามีความจุเท่าใด

48 ลมหายใจและอากาศ เก็บอากาศให้เต็มขวด เก็บลมหายใจให้เต็มขวด
เปรียบเทียบลมหายใจและอากาศแตกต่างกันอย่างไร

49

50 สูดอากาศเข้าไปในปอด กิจกรรมที่ 1: หายใจให้ทั่วท้อง แนวคิด.. การหายใจผ่านสิ่งของต่าง ๆ ทำให้หายใจไม่สะดวก และทำให้เกิดเสียงที่แตกต่างกัน กิจกรรมที่ 2: ได้ยิน สัมผัส เห็นลมหายใจ แนวคิด.. เราได้ยิน เสียง และสัมผัสลมหายใจของเราได้ เวลาเหนื่อยเราหายใจมากขึ้น เพศ อายุ ก็มีผลต่ออัตราการหายใจ กิจกรรมที่ 3: อุปกรณ์วัดลมหายใจ แนวคิด.. อากาศแทนที่น้ำได้ ปริมาณอากาศในปอด สามารถวัดได้โดยการแทนที่น้ำ กิจกรรมที่ 4: ลมหายใจและอากาศ แนวคิด.. ลมหายใจออก แตกต่างจากอากาศ โดยจะทำให้เทียนดับเร็วกว่า

51 มีอากาศอยู่ในฟองสบู่เท่าใด

52 ตั้งคำถาม สังเกตและ บรรยายสิ่งที่พบ บันทึกผล รวบรวมความคิด
และตั้งสมมติฐาน ตั้งคำถาม ทำการทดลอง/ค้นคว้า สรุปและอภิปราย สังเกตและ บรรยายสิ่งที่พบ บันทึกผล

53 ตั้งคำถามเพื่อสำรวจตรวจสอบ
เราสามารถเก็บอากาศได้หลายวิธี ทั้งในลูกโป่ง ในถุงพลาสติก รวมถึงฟองสบู่ เราจะใส่อากาศปริมาณมากที่สุดในฟองสบู่ได้อย่างไร ตั้งคำถามเพื่อสำรวจตรวจสอบ

54 ต้องใช้วัสดุใดบ้านในการทำฟองสบู่
ทำอย่างไรจึงจะได้ฟองสบู่ขนาดใหญ่ รวบรวมความคิด และตั้งสมมติฐาน ก่อนการทดลอง ควรจะสอนเด็ก ๆ ให้รู้จักกับการดูดและการเป่าด้วยสำลีก่อน

55 ทดลอง สังเกตลักษณะและขนาดฟองสบู่ที่เป่าด้วยหลอดขนาดต่าง ๆ กัน
สังเกตวิธีการเป่าที่แตกต่างกัน ลองดัดลวด หรือ ตัดปลายหลอดให้มีลักษณะต่างกัน เปรียบเทียบลักษณะของฟอง วิธีการใดที่จะทำให้ได้ฟองขนาดใหญ่ที่สุด ทดลอง

56 ลักษณะของฟองสบู่มีลักษณะอย่างไร
มีสีอะไรบ้าง ถ้าฟองสบู่ลอยขึ้นไปในอากาศ มีลักษณะการเคลื่อนที่อย่างไร  สังเกตและบรรยาย

57 การบันทึกผล ควรสามารถเปรียบเทียบได้ว่า หลอดชนิดใดได้ฟองขนาดใหญ่สุด
การเป่าแบบใดให้ฟองขนาดใหญ่กว่า ใบพัดหลอดหรือการดัดลวดทำให้ได้ฟองขนาดใหญ่ขึ้น บันทึกผล

58 วิธีใดที่ทำให้ได้ฟองขนาดใหญ่
ถ้าต้องการให้ได้ฟองที่มีขนาดใหญ่ขึ้นต้องทำอย่างไร ถ้าเราดัดลวดเป็นรูปทรงอื่น ลักษณะของฟองสบู่จะแตกต่างหรือไม่ สรุปและอภิปราย

59 ความแรงในการเป่า, ขนาดของหลอด/ห่วง, ทิศในการเป่า, ขนาด ชนิด รูปร่างของห่วง
สมมติฐาน ขนาดห่วงที่มีขนาดใหญ่จะใส่อากาศได้ปริมาณมากกว่าขนาดห่วงเล็ก เราจะใส่อากาศปริมาณมากที่สุดในฟองสบู่ได้อย่างไร ใช้ขดลวดขนาดเท่ากัน ดัดเป็นรูปวงกลมที่มีขนาดแตกต่างกัน ๓ ขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ จุ่มลงในน้ำสบู่แก้วเดียวกัน ทำให้เกิดฟองโดยเป่าด้วยแรงที่เท่ากัน เวลาเท่ากัน สังเกตขนาดของฟองสบู่ โดยกำหนดให้ฟองขนาดใหญ่คือมีปริมาณอากาศมาก

60 ขนาดของห่วง ขนาดฟองสบู่ เล็ก เล็กมาก กลาง ขนาดกลาง ใหญ่ ใหญ่มาก
ลักษณะของฟองสบู่เมื่อเริ่มเป่าจะมีขนาดทรงกลมเล็ก ๆ และมีขนาดใหญ่ขึ้น ฟองสบู่ที่เป่าออกมาแต่ละครั้งมีขนาดไม่เท่ากัน เมื่อโดนแสงจะมีสีที่แตกต่างกัน ฟองสบู่แต่ละลูกอยู่ได้เพียงแป๊บเดียวก็แตกออก เมื่อโดยลม ฟองสบู่มีรูปร่างเปลี่ยนไป ไม่เป็นทรงกลม เมื่อใช้ห่วงที่มีขนาดต่างกัน พบว่าการเป่าฟองสบู่ด้วยห่วงขนาดใหญ่จะได้ฟองสบู่ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด แสดงว่าขนาดของห่วงที่ใหญ่สามารถเก็บอากาศในฟองสบู่ได้ปริมาณมากที่สุด ตรงตามสมติฐานที่ตั้งไว้

61 ตั้งคำถาม สังเกตและ บรรยายสิ่งที่พบ บันทึกผล รวบรวมความคิด
และตั้งสมมติฐาน ตั้งคำถาม ทำการทดลอง/ค้นคว้า สรุปและอภิปราย สังเกตและ บรรยายสิ่งที่พบ บันทึกผล

62 ใบกิจกรรม เรื่อง อากาศ
 บัตรค้นพบ บัตรวิจัย รู้จักอากาศด้วยประสาทสัมผัส อากาศมีตัวตน อากาศมีแรงกระทำ อากาศและน้ำ อากาศร้อน อากาศเย็น สูดอากาศเข้าปอด สร้างกระแสลม ลมเดินทางไปทางไหน อากาศอยู่ในฟองสบู่เท่าใด

63 บัตรการค้นพบ สร้างกระแสลม
บัตรการค้นพบ สร้างกระแสลม

64 เราจะทราบได้อย่างไร ว่ามีลม หรือไม่
ลมแรง เราจะทราบได้อย่างไร ว่ามีลม หรือไม่

65 ลมเอ๋ยลมพัด ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร ลองสร้างกระแสลมด้วยอุปกรณ์อย่างง่าย
ลมทำให้วัตถุใดเคลื่อนที่ได้บ้าง วัตถุใดเคลื่อนที่ไม่ได้ ลองทำศิลปะจากลม

66 ปล่อยลมกรรโชกออกจากกล่อง
ลมจากกล่องทำให้วัตถุเคลื่อนไหวได้อย่างไร ลมจากกล่องทำให้ลูกปิงปองกลิ้ง หรือ เทียนดับได้หรือไม่ ระยะทางมีผลต่อการเคลื่อนไหวของลูกปิงปองหรือการดับของเทียนหรือไม่ อย่างไร ความแรงของการตบมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุหรือไม่

67 กลิ่นหอมลอยอยู่ในอากาศ
เราเคยได้กลิ่นอะไร ทั้งที่เราไม่เคยเห็นหรือไม่ เราได้กลิ่นของเหล่านั้นได้อย่างไร ปัจจัยใดบ้างที่ทำให้เราได้กลิ่น

68 สร้างกระแสลม กิจกรรมที่ 1: ลมแรง แนวคิด.. ลมเกิดจากอากาศที่เคลื่อนที่ เราสังเกตได้จากการเคลื่อนไหวของวัตถุ ลมแรงมากจะทำให้วัตถุที่หนักเคลื่อนที่ได้ กิจกรรมที่ 2: ลมเอยลมพัด แนวคิด.. เราทำให้เกิดลมได้ โดยการทำให้อากาศเคลื่อนที่ อาจใช้การพัด โบก หรือเป่า ซึ่งลมทำให้วัตถุหลายอย่างเคลื่อนที่ กิจกรรมที่ 3: ปล่อยลมกรรโชกออกจากกล่อง แนวคิด.. ระยะทางมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ เมื่อระยะทางห่างมากขึ้น ความแรงลมจะลดลง กิจกรรมที่ 4: กลิ่นหอมลอยอยู่ในอากาศ แนวคิด.. อากาศที่เคลื่อนที่ ทำให้กลิ่นเคลื่อนที่ไปด้วย ห้องที่แคบจะได้กลิ่นที่แรงกว่าพื้นที่กว้าง

69 ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะจากการพิจารณาโครงงาน

70 สระแก้ว เขต 1 ส่ง 3 โรงเรียน ผ่าน 3 โรงเรียน ทุกโรงเรียน ส่ง 2 โครงงาน
สีหรรษา อะไรจะเกิดก่อนกัน สีสันแฟนซี ผักกาดขาวเปลี่ยนสี แป้งโดว์ สำรวจมดตัวน้อย เป็นโครงงานได้แก่ อะไรจะเกิดก่อนกัน แป้งโดว์และ สำรวจมดตัวน้อย ที่เหลือ ไม่เป็นโครงงาน ที่มาเขียนได้ดีว่ ามากจากเด็ก แต่ควรเพิ่มการสนทนาเพื่อให้เห็นที่มาของคำถามด้วย เกิดทักษะมากกว่า 3 ทักษะ เกิดการพัฒนาความสามารถทั้ง 4 ด้าน มีหลักฐานการบันทึกผลของเด็ก การสรุปบางอันไม่มีสรุป บางอันสรุปไม่สอดคล้อง บางอันมีสรุปและสอดคล้อง

71 โครงงานยอดฮิต น่าน นครนายก และสระแก้ว ปีการศึกษา 2557
โครงงานยอดฮิต น่าน นครนายก และสระแก้ว ปีการศึกษา 2557

72 ความเป็นโครงงาน เป็นโครงงาน ใช้วัฏจักรวิจัย 3 คำถาม
เป็นโครงงาน ใช้วัฏจักรวิจัย 3 คำถาม ไม่เป็นโครงงาน เป็นกิจกรรม 3 ระยะ เริ่มต้น พัฒนา สรุป บางอันมีให้เด็กคาดคะเนก่อนด้วย ผักกาดขาวเปลี่ยนสี ดีตรงที่บางคำถามใช้เวลาในการศึกษา หลายวัน (3วัน) กิจกรรม สีสันแฟนซี เริ่มต้น:: พูดคุยได้โครงงาน นร.ลองทำนายว่าพิชแต่ละชนิดได้สีอะไร นรไปถาม ผปค ว่าพืชแต่ละขนิดให้สีอะไร พัฒนา: นักเรียนทดลองสกัดสี หยดน้ำมะนาว สรุป: สรุปผลการทดลอง

73 ที่มา/คำถาม ที่มามีบทสนทนา ทำให้ผู้อ่านแน่ใจว่าโครงงานนี้มาจากเด็ก (ดีแล้ว) บางอันมีบทสนทนาที่ทำให้ทราบว่า คำถามคืออะไรบ้าง และเป็นคำถามที่มาจากเด็ก เพิ่มเติม ควรบทสนทนาที่ทำให้ทราบว่าคำถามมาจากเด็ก หรือ ร่วมกันระหว่างครูกับเด็ ผักกาด ที่มา ถ้าไม่เอาผักมาทำอาหาร เอามาทำอะไรดี เห็นพี่เอามาแช่ในน้ำสี ก็จะทำมั่ง ครูก็เลยให้ทำ แนะนำ ควรถามนักเรียนเพิ่ม เพื่อต่อยอดไปสู่่ คำถามอื่นที่น่าสนใจ และมีประโยชน์เชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันมากกว่านี้

74 ออกแบบการสำรวจ/ค้นคว้า
ครูออกแบบการสืบเสาะได้สอดคล้องกับการคาดคะเน/สมมติฐานของเด็ก เพิ่มเติม ควรให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการออกแบบด้วย

75 การบันทึกผล มีหลักฐานการบันทึกผลของเด็ก
การบันทึกผลของครูสอดคล้องกับคำถาม และง่ายต่อการสรุป แต่การบันทึกของเด็กไม่สอดคล้องกับครู เป็นการวาดภาพที่เห็นจากวิดีโอ ซึ่งไม่ง่ายในการสรุปเพื่อตอบคำถาม การบันทึกของครูมี 9 ชนิด การบันทึกของเด็กมีเพียง 5 ชนิด การบันทึกผลของครูสอดคล้องกับคำถาม (โดยบันทึกจากคำพูดของเด็ก) แต่การบันทึกของเด็กเป็นการวาดภาพที่เห็นจากวิดีโอ

76 การสรุป บางอันสรุปไม่สอดคล้อง บางอันมีสรุปและสอดคล้อง
สรุปไม่สอดคล้องกับผล เช่น น้ำสีจากพืช หยดน้ำมะนาวลงไป ทำให้สีเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ แต่ในบันทึกผลบางสี ไม่เปลี่ยนแปลง บางอันมีสรุปและสอดคล้อง ใบเตย สีเขียวอ่อน หยดแล้ว ก็ยังเป็นสีเขียวอ่อน ดาวเรืองสีเหลือง หยดแล้ว ก็ยังเป็นสีเหลือง

77 ทักษะ ได้หลายทักษะตั้งแต่ 4 ทักษะ เช่น สังเกต จำแนก ทดลอง เปรียบเทียบ
ได้ทักษะน้อยกว่า 4 การสังเกต วัดตวง ผสมสีอะไร ได้สีเขียว สีม่วง สีฟ้า โดยทำวันละสี ตามที่ครูบอก สังเกต เปรียบเทียบ (ผักกาดแช่ในน้ำเปล่า กับ น้ำสี)

78 การบูรณาการกับสาขาวิชาอื่น
ยังไม่มีการบูรณาการกับสาขาวิชาอื่น (กิจกรรม 3 ระยะ ตอบแค่คำถามเดียว ไม่เน้นวัฏจักรวิจัย) บางอันมีการบูรณาการกับสาขาวิชาอื่น เช่น ศิลปะ การงานอาชีพ สีสันแฟนซี คั้น หยดมะนาว ดูว่าสีเปลี่ยนหรือไม่ ไม่มีการบูรณาการ

79 การมีส่วนร่วมของผู้อื่น
ผู้ปกครองมีส่วนร่วม แต่บางอัน เป็นการพยายามให้มีส่วนร่วม ครูวิชาอื่นเป็นวิทยากรให้ การพยายามให้มีส่่วนร่วม เช่น คำถามว่าพืชแต่ละชนิดให้สีอะไร ครูถามเด็กให้ทำนายแล้ว ก็ให้เด็กไปถามผู้ปกครอง อีกรอบ แล้วก็ ทำการทดลอง จริงๆ ก็ทำการทดลองไปเลย เพราะชัดเจนกว่า

80 ตัวอย่างความไม่สอดคล้องกัน
คำถาม:ดอกไม้สีขาวรอบโรงเรียนมีดอกอะไรบ้าง รวบรวมความคิด: มะลิ เฟื่องฟ้า ชบา บัว พุด สมมติฐาน: ดอกไม้สีขาวมีอยู่ในบริเวณ ร.ร. สำรวจ และบันทึกด้วยการวาดภาพดอกไม้ที่ออกไปสำรวจ (ซึ่งแต่ละคนวาดมาคนละ1ชนิดแต่วาดหลายภาพ) สังเกตและบรรยาย: บทสนทนาเพื่อบอกชื่อของดอกไม้ สรุป: ดอกไม้สีขาวมีอยู่ใน ร.ร. ดอกไม้สีขาวแต่ละชนิด มีรูปร่าง หน้าตา ลักษณะ กลิ่นไม่เหมือนกัน

81 อื่น ๆ ไม่ใช่สมมติฐาน น้ำตาลก้อนเมื่อนำไปใส่น้ำจะเกิดอะไรขึ้น
สรุปผลแบบทั่วไป ไม่ใช่สรุป ไม่รู้ว่าข้อสรุปคืออะไร สรุปไม่สอดคล้อง และเกินวัย ผักบุ้งนำไปทำอาหารได้อย่างไร สรุป ผักบุ้งมีคุณค่าทางโภชนการ บันทึกไม่สอดคล้อง ไม่คลอบคลุมคำถาม มีหลายประเด็นคำถาม มีผลงานของเด็กเพียงอย่างเดียวคือวาดภาพเกี่ยวกับเรื่องนั้น ไม่ใช่สมมติฐาน น้ำตาลก้อนเมื่อนำไปใส่น้ำจะเกิดอะไรขึ้น สมมติฐาน ไม่สอดคล้องกับการรวบรวมความคิด วัสดุใดบ้างใช้กรองน้ำได้ รวบรวมความคิด: หิน ทราย ฟองน้ำ สำลี สมมติฐาน:วัสดุที่จะนำมากรองน้ำสามารถหาได้ในบริเวณ ร.ร.และที่บ้าน

82 การประเมินโครงงาน เต็ม 25 คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป ผ่าน
เต็ม 25 คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป ผ่าน 20 คะแนนขั้นไปพิจราณา Best Practice

83 ตั้งเป้าคะแนนโครงงานเท่าไหร่ดี

84 เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
ความเป็นโครงงาน ไม่ต่อเนื่อง ไม่ครบวัฎจักรวิจัย ไม่ผ่าน ใช้วัฎจักรวิจัย 1 รอบ คะแนน ใช้วัฎจักรวิจัยอย่างน้อย 2 รอบ 3 คะแนน ควรมีมากกว่า 2 คำถาม และมีอย่างน้อย 2 คำถาม ใชัวัฎจักรวิจัยที่สมบูรณ์

85 ตั้งคำถาม สังเกตและ บรรยายสิ่งที่พบ บันทึกผล รวบรวมความคิด
และตั้งสมมติฐาน ตั้งคำถาม ทำการทดลอง/ค้นคว้า สรุปและอภิปราย สังเกตและ บรรยายสิ่งที่พบ บันทึกผล

86 เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
ที่มาของคำถามในการสำรวจตรวจสอบ มาจากครู คะแนน มาจากนักเรียนและครูร่วมกัน 2 คะแนน มาจากนักเรียน คะแนน ควรเขียนเล่าเรื่อง ความเป็นมาของคำถามวิจัยให้ชัดเจน

87 หัวข้อ คำถามที่เด็กอยากรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้มีอะไรบ้าง
คำถามใดที่สำรวจตรวจสอบได้ เลือกมา 5 คำถาม

88 เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
3.1 การออกแบบการสำรวจตรวจสอบ ครูออกแบบให้ คะแนน นักเรียนมีส่วนร่วม คะแนน นักเรียนออกแบบเอง คะแนน ควรระบุกระบวนการได้มาซึ่งการออกแบบกิจกรรม อาจจะอยู่ในรูปแบบการสนทนาระหว่างเด็กกับครู หรือ เด็กกับเด็ก

89 เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
3.2 การดำเนินการสำรวจตรวจสอบ ครูนำกิจกรรม คะแนน นักเรียนส่วนน้อยทำกิจกรรม 2 คะแนน นักเรียนส่วนใหญ่ทำกิจกรรม 3 คะแนน แสดงหลักฐาน (ภาพถ่าย)

90 เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
4.1 การบันทึกผลการสำรวจตรวจสอบ  ไม่มีหลักฐาน ข้ามไปข้อ 5 มีหลักฐาน พิจารณาคะแนนข้อ 4.2 ตาราง ข้อมูล ภาพวาด ภาพถ่าย ที่แสดงผลการทดลอง/ค้นคว้าของนักเรียน ไม่ใช่ผลการบันทึกสรุปของคุณครู

91 เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
4.2 การบันทึกผลการสำรวจตรวจสอบ ไม่สอดคล้อง คะแนน สอดคล้อง คะแนน สอดคล้องกับคำถาม และวิธีการทดลอง/ค้นคว้า

92 เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
5.1 การสรุปและอภิปรายผล สิ่งที่สรุปไม่สอดคล้องกับผล คะแนน สิ่งที่สรุปสอดคล้อง คะแนน การลงข้อสรุปควรอ้างอิงจากผลที่บันทึก เพื่อให้การสรุปและอภิปรายสอดคล้องกับข้อมูล

93 เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
5.2 การสรุปและอภิปรายผล ครูสรุป คะแนน ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป คะแนน ไม่ควรเกินจากข้อมูลที่ได้ ดังนั้นควรอ้างอิงจากผลที่ได้จากการบันทึกและเป็นภาษาของเด็ก

94 เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
การส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2 ทักษะ คะแนน 3 ทักษะ คะแนน ตั้งแต่ 4 ทักษะ คะแนน

95 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การสังเกต การลงความเห็นจากข้อมูล การวัด การพยากรณ์ การจำแนกประเภท การตั้งสมมติฐาน ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การกำหนดและควบคุมตัวแปร การคำนวณ การทดลอง (ออกแบบ ปฏิบัติ บันทีก) จัดกระทำกับข้อมูล (การสื่อสารข้อมูล) การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป

96 ความแรงในการเป่า, ขนาดของหลอด/ห่วง, ทิศในการเป่า, ขนาด ชนิด รูปร่างของห่วง
สมมติฐาน ขนาดห่วงที่มีขนาดใหญ่จะใส่อากาศได้ปริมาณมากกว่าขนาดห่วงเล็ก เราจะใส่อากาศปริมาณมากที่สุดในฟองสบู่ได้อย่างไร ใช้ขดลวดขนาดเท่ากัน ดัดเป็นรูปวงกลมที่มีขนาดแตกต่างกัน ๓ ขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ จุ่มลงในน้ำสบู่แก้วเดียวกัน ทำให้เกิดฟองโดยเป่าด้วยแรงที่เท่ากัน เวลาเท่ากัน สังเกตขนาดของฟองสบู่ โดยกำหนดให้ฟองขนาดใหญ่คือมีปริมาณอากาศมาก

97 ขนาดของห่วง ขนาดฟองสบู่ เล็ก เล็กมาก กลาง ขนาดกลาง ใหญ่ ใหญ่มาก
ลักษณะของฟองสบู่เมื่อเริ่มเป่าจะมีขนาดทรงกลมเล็ก ๆ และมีขนาดใหญ่ขึ้น ฟองสบู่ที่เป่าออกมาแต่ละครั้งมีขนาดไม่เท่ากัน เมื่อโดนแสงจะมีสีที่แตกต่างกัน ฟองสบู่แต่ละลูกอยู่ได้เพียงแป๊บเดียวก็แตกออก เมื่อโดยลม ฟองสบู่มีรูปร่างเปลี่ยนไป ไม่เป็นทรงกลม เมื่อใช้ห่วงที่มีขนาดต่างกัน พบว่าการเป่าฟองสบู่ด้วยห่วงขนาดใหญ่จะได้ฟองสบู่ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด แสดงว่าขนาดของห่วงที่ใหญ่สามารถเก็บอากาศในฟองสบู่ได้ปริมาณมากที่สุด ตรงตามสมติฐานที่ตั้งไว้

98 การวัด ปริมาตร ความยาว น้ำหนัก

99 การจำแนกประเภท จัดกลุ่มตามเกณฑ์ที่กำหนด หรือ กำหนดเกณฑ์การแบ่งกลุ่มได้

100 สเปสกับสเปส อธิบายลักษณะของวัตถุสองมิติและสามมิติ
ระบุรูปทรงเรขาคณิตของวัตถุ

101 สเปสกับสเปส ระบุตำแหน่งของสิ่งของได้

102 สเปสกับสเปส วาดภาพสองมติ จากวัตถุสามมติ
ระบุลักษณะเงาที่เกิดจากวัตถุได้

103 สเปสกับเวลา ระบุตำแหน่งหรือลักษณะของสิ่งของที่เปลี่ยนไปในแต่ละเวลาได้

104 ปริมาณน้ำตาลที่ละลาย
การพยากรณ์ การทำนายผลที่อาจจะเกิดขึ้นบนข้อมูลที่มี เช่น ถ้าใช้น้ำร้อนน้ำตาลจะละลายได้มากที่สุดกี่ก้อน อุณหภูมิของน้ำ น้ำเย็น น้ำธรรมดา น้ำร้อน ปริมาณน้ำตาลที่ละลาย 2 5 ?

105 การตั้งสมมติฐาน การหาคำตอบไว้ล่วงหน้าก่อนการทดลอง
น้ำแข็งที่ทุบละเอียดจะหลอมเหลวได้เร็วกว่าน้ำแข็งก้อน น้ำแข็งที่เก็บในกระป๋องพลาสติกจะหลอมเหลวได้ช้ากว่าน้ำแข็งที่เก็บในกระป๋องโลหะ ดอกไม้สีขาวจะบานตอนกลางคืน

106 การกำหนดนิยามเชิงปฎิบัติการ
การอธิบายความหมาย ขอบเขต ของตัวแปร น้ำแข็งหลอมเหลวได้เร็ว คืออะไร วัดอย่างไร เปรียบเทียบเวลาเมื่อน้ำแข็งหลอมเหลวจนหมดก้อน เปรียบเทียบปริมาณน้ำที่หลอมเหลวจากน้ำแข็ง ในเวลา 30 วินาที

107 การกำหนดและควบคุมตัวแปร
การบ่งชี้และระบุชนิดของตัวแปร ตัวแปรต้น - ตัวแปรใดที่เราต้องการจะศึกษา (อะไรที่ควรต่างกัน) ตัวแปรตาม - ผลที่เกิดขึ้นจากตัวแปรต้น (จะสังเกตอะไร วัดอย่างไร) ตัวแปรควบคุม - สิ่งใดที่เราต้องควบคุมให้เหมือนกัน (อะไรที่ต้องทำให้เหมือนกัน)

108 เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
การส่งเสริมพัฒนาการ อย่างน้อย 2 ด้าน คะแนน 3 ด้าน คะแนน ครบ 4 ด้าน คะแนน

109 พัฒนาการ 4 ด้าน การเรียนรู้ การเคลื่อนไหว ภาษา สังคม

110 เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คัดลอกจากบุคคลอื่น ปรับตก นำหัวข้อโครงงานมาจากแหล่งอื่น 1 คะแนน ริเริ่มหัวข้อโครงงานเอง คะแนน ริเริ่มเอง น่าสนใจ แปลกใหม่ คะแนน หัวข้อโครงงานที่น่าสนใจ คือ เกิดจากคำถามและความอยากรู้ของเด็ก

111 รร ของเราจะได้คะแนนโครงงานกี่คะแนน

112 สูตรน้ำสบู่(ฟองยักษ์)
แป้งข้าวโพด ½ ถ้วย น้ำเปล่า 6 ถ้วย น้ำยาล้างจาน ½ ถ้วย ผงฟู 1 ช้อนโต๊ะ กลีเซอรีน/กลีเซอรอล 1ช้อนโต๊ะ (ร้านยา หรือ สั่งจากเน็ต)

113 แนวทางการทำโครงงาน บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

114 ลมเดินทางไปทางไหน

115 ตั้งคำถามเพื่อสำรวจตรวจสอบ
ป้องกันอันตรายจากลม เราจะป้องกันอันตรายตัวเองจากลมได้อย่างไร -หลบในอาคาร นอนราบกับพื้น ปิดหน้าต่างให้มิดชิด หลบมุมห้อง หลบหลังต้นไม้ใหญ่ ตั้งคำถามเพื่อสำรวจตรวจสอบ

116 ตั้งคำถาม สังเกตและ บรรยายสิ่งที่พบ บันทึกผล รวบรวมความคิด
และตั้งสมมติฐาน ตั้งคำถาม ทำการทดลอง/ค้นคว้า สรุปและอภิปราย สังเกตและ บรรยายสิ่งที่พบ บันทึกผล

117 เราจะป้องกันอันตรายตัวเองจากลมได้อย่างไร
รวบรวมความคิด -หลบในอาคาร -นอนราบกับพื้น -ปิดหน้าต่างให้มิดชิด -หลบมุมห้อง -หลบหลังต้นไม้ใหญ่ -หลบในรถ จัดกลุ่ม ตั้งคำถามย่อย -หลบในบ้านหรือหลบในรถแบบไหนปลอดภัยกว่ากัน -การอยู่ในบ้านที่ปิดกับเปิดหน้าต่างจะป้องกันอันตรายที่เกิดจากลมได้แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร -หลบหลังต้นไม้ใหญ่หรือต้นไม้เล็ก แบบไหนดีกว่ากัน

118 จัดกลุ่ม ตั้งคำถามย่อย
1.หลบในบ้านหรือหลบในรถแบบไหนปลอดภัยกว่ากัน 2.การอยู่ในบ้านที่ปิดกับเปิดประตูหน้าต่างจะป้องกันอันตรายที่เกิดจากลมได้แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร 3.หลบลมหลังต้นไม้ใหญ่หรือต้นไม้เล็ก แบบไหนดีกว่ากัน 4.เมื่อมีลมแรงๆ การนอนราบกับพื้นจะปลอดภัยกว่าการยืนหรือไม่ อย่างไร 5.หลบลมแรงอยู่มุมห้องกับกลางห้อง แบบไหนปลอดภัยกว่ากัน

119 รวบรวมความคิด และตั้งสมมติฐาน
อยู่ในที่มิดชิด หาที่กำบัง ไม่อยู่ในที่สูง ทำตัวเองให้ต่ำ เช่น ก้ม นอนลง อยู่ในที่โล่งแจ้ง ที่ไม่มีของปลิวได้ หาที่ยึดจับ 1. เราจะปลอดภัยจากแรงลมถ้าเราปิดประตูหน้าต่างให้มิดชิด 2. หลบหลังกำแพงที่ยาวกว่าจะปลอดภัยกว่ากำแพงที่แคบ 3. ยืนอยู่ใกล้กำแพงจะปลอดภัยกว่าอยู่ห่างจากกำแพง 4. เมื่ออยู่บนที่สูงจะได้รับอันตรายจากลมมากกว่าอยู่ที่ต่ำ รวบรวมความคิด และตั้งสมมติฐาน

120 รวบรวมความคิด และตั้งสมมติฐาน

121 ออกแบบการทดลองเพื่อทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้
ควรใช้วัสดุ อุปกรณ์ อะไรบ้าง ดำเนินการทดลองอย่างไร จะวัดตัวแปรที่สนใจอย่างไร ต้องควบคุมอะไรให้เหมือนกัน ต้องทำอะไรที่ต่างกัน แทรกทักษะและความสามารถด้านใดได้บ้าง ออกแบบ/ทดลอง

122 ขณะที่ทำการทดลอง สังเกตเห็นอะไรบ้าง บรรยายสิ่งที่พบ   สังเกตและบรรยาย

123 การบันทึกผลต้องสามารถสรุปได้ง่าย
ตอบคำถามได้ชัดเจน จะบันทึกผลรูปแบบใด ตาราง ภาพวาด บันทึกผล

124 ข้อสรุปต้องมาจากผลที่บันทึก
ได้ข้อค้นพบอะไรบ้าง ตรงกับที่คาดคะเนไว้หรือไม่ เราป้องกันอันตรายตนเองจากลมได้อย่างไร สรุปและอภิปราย ข้อสรุปต้องมาจากผลที่บันทึก

125 ตัวอย่างโครงงาน “มาปลูกมันฝรั่งกัน”

126 ที่มาของโครงงาน

127 คำถาม ตาของมันฝรั่งคืออะไร
ตาของมันฝรั่งทำให้เกิดต้นมันฝรั่งต้นใหม่ได้หรือไม่ มันฝรั่งมีเมล็ดหรือไม่ เราสามารถปลูกพืชโดยไม่ใช้เมล็ดได้หรือไม่ อย่างไร การปลูกต้นมันฝรั่งต้องใช้มันฝรั่งทั้งหัวหรือไม่

128 กิจกรรม ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 2-3 คน ศึกษาในคำถามที่สนใจ
ครูถามนักเรียนให้ออกแบบการสำรวจตรวจสอบ วัสดุ อุปกรณ์ อะไรบ้างที่เราต้องใช้ นักเรียนวาดภาพแผนการทดลองที่คิดไว้

129 กิจกรรม นักเรียนตั้งสมมติฐาน “มันฝรั่งเฉพาะส่วนที่มีตาจะเติบโตไปเป็นต้นมันฝรั่ง” นักเรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลงของมันฝรั่งที่ปลูก บันทึกสิ่งที่ได้

130 ผลการศึกษา นักเรียนพบว่ามันฝรั่งส่วนที่มีตา มีต้นงอกออกมา ส่วนที่ไม่มีตาก็แห้งเหี่ยวไป ไม่มีต้นงอก เมื่อต้นมันฝรั้งโตขึ้นพบว่า มีมันฝรั่งลูกใหม่ เกาะที่ราก

131 คำถามเพิ่มเติม ใช้เวลานานเท่าใด กว่าจะได้มันฝรั่งลูกโต
ในต้นมันฝรั่งหนึ่งต้นจะมีมันฝรั่งได้กี่ลูก มันฝรั่งที่เกิดขึ้นใหม่สามารถนำมาปลูกเป็นต้นใหม่ได้หรือไม่

132 ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ขั้นพี้นฐาน ขั้นบูรณาการ การลงความเห็น การตั้งสมมติฐาน ทำนาย กำหนดและควบคุมตัวแปร การออกแบบการทดลอง การสังเกต การนับ การจำแนก การวัด สเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา การจัดกระทำและสื่อสารข้อมูล

133 ซักถาม


ดาวน์โหลด ppt บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google