งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

2 ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานฯ แจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ ๒ คณะทำงานย่อยหมวด ๔ ชี้แผนการดำเนินงาน ระเบียบวาระที่ ๓ ผู้แทน สปช.ทร.ชี้แจงแนวทางการกำหนดตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย ระเบียบวาระที่ ๔ ผู้แทนหน่วยชี้แจงปัญหา อุปสรรคการดำเนินงานที่ ผ่านมาและแนวทางการดำเนินงานในปีงบประมาณ ๖๐ ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่นๆ

3 ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานฯ แจ้งให้ที่ประชุมทราบ

4 ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระที่ ๒ คณะทำงานย่อยหมวด ๔ ชี้แผนการดำเนินงาน

5 PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
ปีงบประมาณ 2559 PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ เกณฑ์ RTN Excellence Guidebook

6 ข้อเสนอแนะการตรวจหมวด 4 ตามเกณฑ์ Excellence Guidebook
ต้องวัดผลการดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ การกำหนดตัวชี้วัดตามกระบวนการของหน่วยต้องมีตัวชี้วัดที่ท้าทาย ตัวชี้วัดระยะ สั้นรวมอยู่ด้วย ต้องมีการวิเคราะห์ตัวชี้วัดทุกตัวของหน่วยเพื่อใช้เป็นตัววัดผลการดำเนินการของ หน่วย และใช้ในการปรับกระบวนการของหน่วยต่อไป ต้องมีการรายงานตัวชี้วัดเพื่อจัดทำเป็นข้อมูลสารสนเทศสำหรับผู้บังคับบัญชา

7 หน่วยต่างๆ ผ่านเกณฑ์ฯ
เกณฑ์การให้คะแนน ปี 2558 90 % ขึ้นไป 80 – 90 % 70 – 80 % 60 – 70 % ต่ำกว่า 60 % หน่วยต่างๆ ผ่านเกณฑ์ฯ ขั้นพื้นฐาน ในปี 2558 ร้อยละ 80.00 จำนวน 22 หน่วย 86.6%

8 PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
ปีงบประมาณ 2560 PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ.2558

9

10 14 คำถามเกณฑ์ ปี 2558 หมวด P หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6
หมวด 7 ปี 2558 13 11 10 14 18

11 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้
4.1 การวัด การวิเคราะห์และการปรับปรุงผลการดำเนินการ 4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินการ ค. การปรับปรุงผลการดำเนินการ ก. ความรู้ของส่วนราชการ ข. ข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ

12 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้
4.1 การวัด การวิเคราะห์และการปรับปรุงผลการดำเนินการ 4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินการ ค. การปรับปรุงผลการดำเนินการ ก. ความรู้ของส่วนราชการ ข. ข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัววัดผลการดำเนินการ ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ ข้อมูลผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความคล่องตัวของการวัด

13 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้
4.1 การวัด การวิเคราะห์และการปรับปรุงผลการดำเนินการ 4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินการ ค. การปรับปรุงผลการดำเนินการ ก. ความรู้ของส่วนราชการ ข. ข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ การวิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินการ

14 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้
4.1 การวัด การวิเคราะห์และการปรับปรุงผลการดำเนินการ 4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินการ ค. การปรับปรุงผลการดำเนินการ ก. ความรู้ของส่วนราชการ ข. ข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ผลการดำเนินการในอนาคต การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและสร้างนวัตกรรม

15 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้
4.1 การวัด การวิเคราะห์และการปรับปรุงผลการดำเนินการ 4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินการ ค. การปรับปรุงผลการดำเนินการ ก. ความรู้ของส่วนราชการ ข. ข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการความรู้ การเรียนรู้ระดับองค์การ

16 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้
4.1 การวัด การวิเคราะห์และการปรับปรุงผลการดำเนินการ 4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินการ ค. การปรับปรุงผลการดำเนินการ ก. ความรู้ของส่วนราชการ ข. ข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ คุณลักษณะของข้อมูลและสารสนเทศ ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ คุณลักษณะของฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ ความพร้อมใช้งานในสภาวะฉุกเฉิน

17 ความต้องการของหมวด 4 : ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย
ต้องมีการกำหนดตัวชี้วัดสำหรับวัดผลการดำเนินงานของหน่วย ตัวชี้วัดระยะยาว ตัวชี้วัดระยะสั้น ต้องมีการวัดตัวชี้วัดเพื่อดูผลการดำเนินงานของกระบวนการของหน่วย ต้องวิเคราะห์ผลของการวัดกับค่าเป้าหมาย เกินเป้าหมาย ต้องปรับตัวชี้วัด ต่ำกว่าเป้าหมาย ต้องปรับกระบวนการ

18 ความต้องการของหมวด 4 : ฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลด้านยุทธศาสตร์ ฐานข้อมูลจากกระบวนหลัก ฐานข้อมูลจากกระบวนการสนับสนุน ฐานข้อมูลด้านการเงิน ฐานข้อมูล ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Partner/Supplier ฐานข้อมูลการจัดความรู้ของหน่วย

19 แผนการดำเนินงานของ หมวด 4
22 ธ.ค.59 จัดประชุมชี้แจง การกำหนดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เพื่อให้หน่วย ทบทวนตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายของกระบวนการของหน่วย 30 มี.ค. 60 ส่งผลการการวัด การวิเคราะห์ ของกระบวนการ รวม แผนงาน IT ของแผนกกรรมวิธีข้อมูล กบศ.ยศ.ทร. และการจัดการความรู้ ของคณะกรรมการ จัดการความรู้ของ ยศ.ทร. 5 เม.ย. 60 รวบรวมข้อมูลและเตรียมการรับตรวจจาก สปช.ทร.

20 คำถาม

21 ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระที่ ๓ ผู้แทน สปช.ทร.ชี้แจงแนวทางการกำหนดตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย

22 ผู้แทน สปช.ทร.ชี้แจ้งการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย

23 ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระที่ ๔ ผู้แทนหน่วยชี้แจงปัญหา อุปสรรคการดำเนินงานที่ ผ่านมาและแนวทางการดำเนินงานในปีงบประมาณ ๖๐

24 ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่นๆ

25 คำถาม


ดาวน์โหลด ppt PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google