งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบันทึกข้อมูลตามโครงสร้าง 43 แฟ้ม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบันทึกข้อมูลตามโครงสร้าง 43 แฟ้ม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบันทึกข้อมูลตามโครงสร้าง 43 แฟ้ม
คู่มือการปฏิบัติงาน การบันทึกข้อมูลตามโครงสร้าง 43 แฟ้ม ณ สิงหาคม 2560

2

3 แฟ้มที่ใช้ในการทำงานทั้งหมดของข้อมูลงานทันตสาธารณสุข
แฟ้มบริการ แฟ้มสะสม แฟ้มกึ่งสำรวจ DENTAL ข้อมูลสภาวะทันตสุขภาพ Special PP ข้อมูลการส่งเสริมป้องกันเฉพาะ Person ระบุความเป็นคน และอายุ Service ระบุว่ามารับบริการเป็นครั้ง PROVIDER ผู้ให้บริการต้องเป็น ทพ. หรือ ทภ. ANC ใช้ระบุการเป็นหญิงตั้งครรภ์ Procedure_OPD, Procedure_IPD ข้อมูลการให้บริการทันตกรรม แฟมสะสม จัดเก็บขอมูลโดยการสํารวจปละครั้ง ภายในเดือนสิงหาคม และปรับฐานขอมูลใหแลวเสร็จภายในวันที่ 1 ตุลาคมของทุกปี แฟ้มกึ่งสำรวจ กรณีของการบริการ ใหบันทึก ขอมูลทุกครั้งที่มารับบริการ /กรณีของการสํารวจใหทําการสํารวจ และปรับปรุงฐานขอมูลปละ 1 ครั้ง Diagnosis_OPD , Diagnosis_IPD ข้อมูลการวินิจฉัยโรค ข้อมูลการรับบริการแต่ละครั้ง ดูจากแฟ้ม SERVICE เชื่อมโยงโดย SEQ ***โปรแกรมจะส่งออกข้อมูลก็ต่อเมื่อมีการเชื่อมโยงได้ถูกต้อง*** แฟ้มบริการ จัดเก็บและบันทึกขอมูลทุกครั้งที่มารับบริการ

4 Person PROVIDER สํารวจปละ 1 ครั้ง
ระบุความเป็นคน และอายุ PROVIDER ผู้ให้บริการต้องเป็น ทพ. หรือ ทภ. • รหัสสถานบริการ • รหัสคํานําหนาชื่อ • รหัสเพศ • รหัสสถานภาพสมรส • รหัสอาชีพ(เกา) • รหัสอาชีพ(ใหม) • รหัสเชื้อชาติ • สัญชาติ • รหัสศาสนา • รหัสระดับการศึกษา • รหัสสถานะในครอบครัว • สถานะในชุมชน • รหัสสถานะสาเหตุการจําหนาย • รหัสหมูเลือด • รหัสหมูเลือดRH • รหัสความเปนคนตางดาว • รหัสสถานบริการ (สถานพยาบาล) • เพศ • รหัสประเภทบุคลากร • รหัสสภาวิชาชีพ

5 Procedure_OPD, Procedure_IPD
Service ระบุว่ามารับบริการเป็นครั้ง Diagnosis_OPD , Diagnosis_IPD ข้อมูลการให้บริการหัตการ ข้อมูลการวินิจฉัยโรค • รหัสสถานบริการ • ที่ตั้งของที่อยูผูรับบริการ • รหัสเวลามารับบริการ • รหัสประเภทสิทธิการรักษา • สถานบริการหลัก • ประเภทการมารับบริการ • สถานบริการที่สงผูปวยมา • สาเหตุการสงผูปวยมารับบริการ • สถานที่รับบริการ(ใน/นอก สถานพยาบาล) • สถานะผูมารับบริการเมื่อเสร็จสิ้น บริการ • สถานพยาบาลที่สงผูปวยไป • รหัสสถานบริการ • รหัสแผนกที่รับบริการ • รหัสหัตถการ • รหัสสถานบริการ • แผนกที่รับผูปวย • ประเภทการวินิจฉัย • รหัสโรคที่วินิจฉัย บันทึกขอมูลทุกครั้งที่มารับบริการ

6

7 ข้อมูลสภาวะทันตสุขภาพ
DENTAL ข้อมูลสภาวะทันตสุขภาพ • รหัสสถานบริการ • บริการใน-นอกสถานบริการ • จําเปนตองทา/เคลือบฟลูออไรด • จําเปนตองขูดหินน้ำลาย • ประเภทผูไดรับบริการตรวจสภาวะทันตสุขภาพ • จําเปนตองใสฟนเทียม • สภาวะปริทันต • สังกัดโรงเรียนประถมศึกษา • ระดับการศึกษา บันทึกขอมูลเฉพาะรายที่ตรวจสภาวะทันตสุขภาพของฟนทุกซี่ และวางแผนการสงเสริม ปองกันและรักษา

8 ข้อมูลสภาวะทันตสุขภาพ
DENTAL ข้อมูลสภาวะทันตสุขภาพ

9

10

11

12 การบันทึกข้อมูลให้ได้คุณภาพตามกลุ่มวัย
1. ลงข้อมูล Provider ให้ถูกต้อง ครบถ้วน - PROVIDERTYPE ทพ. 02 / ทภ. 06 สำหรับ นักวิชาการสาสุข ที่มาจาก ทภ. แต่*ยังทำฟันอยู่" แนะนำ เปลี่ยน ตำแหน่งเป็น จพ.ทันตฯ เพราะตำแหน่งนักวิชาการ คีย์ยังไงผลงานก็จะไม่ขึ้นในการตรวจฟัน - COUNCIL รหัสภาวิชาชีพ ทพ. 04 ** ทภ. ใช้ 04 เช่นเดียวกับ ทพ. ** - PROVIDER เลข ท ทันตแพทย์ / ทภ. ใช้หมายเลขบัตรประชาชน - อีกประเด็น ไปเปิด user ลงข้อมูล user ทุก รพสต. ที่เราจะออก รร. ไว้ แล้วเช็ค ใน hdc ว่าขึ้น PROVIDER ไหมด้วย ก่อนที่จะเอาข้อมูล ออกหน่วยมาเปิด visit 2. ลงข้อมูล Diagnosis การวินิจฉัย - ประเภทการวินิจฉัย ต้องประกอบไปด้วย 1. Principal diagnosis หมายถึง โรคหรือภาวะหลัก (Principal Dx) โรคที่เป็นเหตุสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยต้องมารับการตรวจรักษา ถ้ามีมากกว่าหนึ่งโรคพิจารณาเลือกโรคที่สิ้นเปลืองทรัพยากรในการรักษามากที่สุด diagtype = 1 2. Co-Morbidity หมายถึง โรคที่ปรากฏร่วมกับโรคที่เป็นการวินิจฉัยหลักและเป็นโรคที่มีความรุนแรงของโรคมากพอที่จะทำให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อชีวิตสูงหรือใช้ทรัพยากรในการรักษาเพิ่มมากขึ้น การวินิจฉัยโรคร่วม diagtype = 2 3. Complication หมายถึง โรคที่ไม่ปรากฏร่วมกับโรคหลักตั้งแต่ต้น แต่มาเกิดหลังจากผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลแล้ว และมีความรุนแรงพอที่จะทำให้คนไข้มีความเสี่ยงต่อชีวิตสูง หรือใช้ทรัพยากรในการรักษาเพิ่มมากขึ้น การวินิจฉัยโรคแทรก diagtype = 3 4. Other diagnosis หมายถึง โรคที่มีความรุนแรงของโรคไม่มากพอที่ทำให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อชีวิตสูงมากขึ้น หรือเป็นโรคที่ไม่ต้องใช้ทรัพยากรในการรักษาเพิ่มขึ้นระหว่างการรักษาที่โรงพยาบาลในครั้งนี้ โดยอาจเป็นโรคที่พบร่วมกับโรคหลักหรือพบหลังจากเข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล diagtype = 4 5. EXTERNAL CAUSE OF INJURY หมายถึง สาเหตุภายนอก/ข้อมูลที่ได้จากการซักประวัติ diagtype=5

13 หลักการเบื้องต้นในการลงข้อมูล
2. ลงข้อมูล Diagnosis การวินิจฉัย - รหัสโรคที่ใช้วินิจฉัย ต้องประกอบไปด้วย การให้รหัสโรค Z ให้เมื่อไม่เป็นโรคเท่านั้น : จะลงข้อมูลเชิงการสำรวจ หรืองานส่งเสริม หาก ลงรหัส Z กับ K จะถือว่าไม่ถูกตามเงื่อนไข หรือกติกาทางเวชสถิติ คือ หากมาด้วยการเป็น โรคไม่ต้องใช้ (รหัส Z01.2 จะใช้ในกรณีที่ตรวจฟันอย่างเดียวไม่ทำอย่างอื่น) ห้ามใช้รหัส V,W,X,Y เป็นรหัสโรคหลัก  3. ลงข้อมูล Procedure รหัสหัตถการ - รหัสหัตถการที่ใช้วินิจฉัย ต้องประกอบไปด้วย ใน 1 visit ที่ให้บริการคนไข้ จะต้องเกิดรหัสหัตถการ icd10tm ขึ้น อย่างน้อย 1 ตัว คือ (ตรวจเฉพาะที่ก่อนหน้ารักษา) ตัวอย่างเช่น คนไข้มาถอนฟัน #36 ต้อง key การให้บริการตรวจช่องปากให้รหัสหัตถการ เป็น , รหัส Diagnosis ตามการถอนฟัน คือ K03.3 การถอนฟัน ให้รหัสหัตถการ เป็น , รหัส Diagnosis เป็น K03.3 (Internal granuloma of pulp ) (หมายเหตุ รหัส Diagnosis จะเลือกตามลักษณะอาการที่คนไข้มาทำฟัน) สรุปใน case นี้จะมี หัตถการ (procedcode) เกิดขึ้น 2 ตัวคือ และ (ตรวจทั้งปาก) จะใช้ในกรณีการตรวจฟันตามกลุ่มอายุ 0-2 ปี , 3-5 ปี , 6 ปี , 9 ปี , 12 ปี , ผู้ป่วยเบาหวาน , ผู้สูงอายุ ต้องลงแฟ้ม dental ทุก field ห้ามว่าง

14 หลักการเบื้องต้นในการลงข้อมูล
3. ลงข้อมูลหน้า Dent ให้ลงตรวจ complete 1 ครั้งต่อปี เท่านั้น มักทำใน visit แรกที่คนไข้มารักษาในปีงบประมาณนั้น จากนั้น visit ต่อไปลงแค่ field denttype และ service place ก็พอ *** ย้ำว่าการกรอก แฟ้ม dental ตัวนี้ตัวเดียวแต่ไม่ลงหัตถการ"การตรวจฟัน" (กรณีไม่มีการรักษาอื่นๆ หรือ ตรวจอย่างเดียว) จะทำให้รายงานจำนวนผู้ป่วยนอกทันตกรรมไม่ขึ้นในแง่ปริมาณผู้ป่วยนอก แต่จะขึ้นแค่มีการ ตรวจฟัน (dental) เกิดขึ้นเท่านั้น - คนไข้มาจากคลินิกไหน ให้ลงคลินิกนั้น โดยทุกกลุ่มต้องลงแฟ้ม dental ครั้งแรกเสมอ เช่น ANC ลงในฝากครรภ์ แต่ต้องมีการลงแฟ้ม dental และใส่หัตถการด้วย WBC ลงใน vaccine NCD ลงในโรคเรื้อรัง ศพด. นักเรียน สูงอายุ เปิด visit ลงในงานทันตะ ปกติ การลงแฟ้ม dental พยายามลงตามจริง เพราะจะมีผลต่อการ survey สภาวะช่องปากคนไข้ ตอนหลัง ในกลุ่มต่อไปนี้ 1. อายุ 18 เดือน : WBC + เยี่ยมบ้าน 2. อายุ 3 ปี : ปีละครั้ง , ศพด. (เด็ก 3-5ปี***) 3. อายุ 6 ปี , 9 ปี และ 12 ปี : ปีละครั้ง , โรงเรียน 4. ผู้สูงอายุ : สำรวจในชุมชน (การสุ่ม หรือ ทั้งหมด) 5. กลุ่มประชากรอื่นๆ: Service & Individual record 1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง:คลินิกโรคเรื้อรัง 2. ผู้พิการ สำรวจ+เยี่ยมบ้าน โดยแต่ละกลุ่มอายุจะมีความต่างในการลงแฟ้ม dental ต่างกันไป ตัวอย่างเช่น การลง field จำนวนคู่สบความจำเป็นใส่ฟันปลอม **ลงเฉพาะ สูงอายุ**ก็พอ เป็นต้น

15 การบันทึกข้อมูล

16 การบันทึกข้อมูล

17 การบันทึกข้อมูล กรณีที่ 1 ให้บริการนอกสถานบริการ ไม่มีการทำหัตถการ
กรณีที่ 1 ให้บริการนอกสถานบริการ ไม่มีการทำหัตถการ การตรวจช่องปากเด็กในศูนย์เด็ก , นักเรียน , สูงอายุ , อื่นๆ 1. ลงแฟ้ม Dental ตรวจcomplete 1 ครั้งต่อปีเท่านั้น มักทำใน visit แรกที่ คนไข้มารักษาในปีงบประมาณนั้น และลง กลุ่มผู้รับบริการ (denttype) พร้อมกับสถานที่ให้บริการ (serviceplace) 2. ลงข้อมูลการให้บริการ - Procedure_OPD : รหัสหัตถการ ICD10TM (ตรวจฟันทั้งปากเพื่อการวางแผนการรักษา) ฝึกทักษะการแปรงฟัน สอนวิธีทำความสะอาดฟันและช่องปากและมีการย้อมสีฟัน - Diagnosis_OPD : รหัสวินิจฉัย ICD Z01.2 การตรวจฟัน หรือ Z29.8 การเคลือบฟลูออไรด์ (รหัส Z01.2 จะใช้ในกรณีที่ตรวจฟันอย่างเดียวไม่ทำอย่างอื่น) ห้ามใช้รหัส V,W,X,Y เป็นรหัสโรคหลัก

18 การบันทึกข้อมูล กรณีที่ 2 ให้บริการในสถานบริการ ไม่มีการทำหัตถการ
กรณีที่ 2 ให้บริการในสถานบริการ ไม่มีการทำหัตถการ 1. ลงตรวจแฟ้ม Dental complete 1 ครั้งต่อปีเท่านั้น มักทำใน visit แรกที่คนไข้ มารักษาในปีงบประมาณนั้น (กรณียังเคยลง) 2. ลงข้อมูลการให้บริการ - Procedure_OPD : รหัสหัตถการ ICD10TM (ตรวจฟันทั้งปาก) - Diagnosis_OPD : รหัสวินิจฉัย ICD10 Z01.2 การตรวจฟัน กรณีที่ 3 ให้บริการในสถานบริการ ทำหัตถการ - Procedure_OPD : รหัสหัตถการ ICD10TM (ตรวจฟันเตรียมรักษา) ขูดหินน้ำลายฟันบน ขูดหินน้ำลายฟันล่าง - Diagnosis_OPD : รหัสวินิจฉัย ICD9 K05.1 chronic gingivitis ขูดหินน้ำลาย ทั้งปากต้องมี รหัส

19 ตัวอย่าง

20 ตัวอย่าง

21 รายงานทันตกรม

22 รายงานทันตกรม

23 ประเภทของรายงาน 1. แบบบริการ/กิจกรรมบริการ (service,work load,hospital base) ผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ ได้รับบริการจากหน่วยงานที่เป็นผู้เก็บรวบรวมรายงานเท่านั้น (หน่วยงานนั้นทำเอง) 2. แบบความครอบคลุม (coverage,community base) ผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ ได้รับบริการจากทุกหน่วยงานที่คีย์ข้อมูลส่งออกเป็น 43 แฟ้ม (หน่วยงานนั้นทำเองหรือหน่วยงานอื่นทำให้) ความสําคัญของการตัดความซ้ำซ้อนของข้อมูลประชากร กับรายงานความครอบคลุมที่ต้องคิดเป็าหมายและผลงาน ประชากร typearea ตามนิยามสนย. 1= มีชื่ออยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบ และอยู่จริง 2= มีชื่ออยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบแต่ตัวไม่อยู่จริง 3= มาอาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ(ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบ)แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอก เขตรับผิดชอบ 4= ที่อาศัยอยู่นอกเขตรับผิดชอบและทะเบียนบ้านไม่อยู่ในเขตรับผิดชอบเข้ามารับบริการหรือเคยอยู่ในเขตรับผิดชอบ 5= มาอาศัยในเขตรับผิดชอบ แต่ไม่ได้อยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบ เช่น คนเร่ร่อน ไม่มีที่พักอาศัย เป็นต้น ** การอัพเดทข้อมูลโดยแยกกลุ่มประชากร 1,3 นํามาคิดก่อน ที่ใดอัพเดทล่าสุดยกให้ที่นั้นไป **

24 การบันทึกข้อมูลสุขภาพในช่องปากตามตัวชี้วัด

25 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์(Hosxp)
16 ตัวชี้วัด : 16. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก แหล่งข้อมูล : HDC เป้าหมาย : จำนวนหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบที่คลอดในปีงบประมาณ ผลงาน : จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดในปีงบประมาณ มีประวัติย้อนหลังของการตั้งครรภ์ครั้งนี้ ที่ได้ ตรวจทั้งปาก + วางแผน ที่ลงแฟ้ม dental หัตถการทันตกรรม : บันทึกตรวจสุขภาพฟัน ( Dental Care ) 1) ประเภทผู้รับบริการ => หญิงตั้งครรภ์ 2) ผู้ให้บริการต้องเป็น => ทันตแพทย์(02) หรือ เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข(06) เท่านั้น 3) จำนวนฟันแท้ => ต้องมากว่า 0 4) บันทึกข้อมูลตามที่ตรวจจริง

26 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด : 17. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ หรือ ได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ และ plaque control แหล่งข้อมูล : HDC เป้าหมาย : จำนวนหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบที่คลอดในปีงบประมาณ ผลงาน : จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดในปีงบประมาณ มีประวัติย้อนหลังของการตั้งครรภ์ครั้งนี้ ที่มีรหัสหัตถการ ได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ หรือ ได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ และplaque control คนใหม่ หัตถการทันตกรรม : , 17 ตัวชี้วัด : 18. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการทันตกรรม แหล่งข้อมูล : HDC เป้าหมาย : จำนวนหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบที่คลอดในปีงบประมาณ มีประวัติย้อนหลังของการตั้งครรภ์ครั้งนี้ ที่ได้ตรวจทั้งปาก+วางแผน ที่ลงแฟ้ม dental ผลงาน : หญิงตั้งครรภ์ตามตัวหาร ที่มีรหัสหัตถการทันตกรรม (หากเป็นงานตรวจนับเฉพาะตรวจทั้งปาก+วางแผน) ทุกรหัส ยกเว้น : , , , , , , , 18

27 กลุ่มเด็กคลินิกส่งเสริมสุขภาพเด็กดี (WCC)
19 ตัวชี้วัด : 19.ร้อยละเด็ก 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก เฉพาะเขตรับผิดชอบ แหล่งข้อมูล : HDC เป้าหมาย : จำนวนเด็ก 0-2 ปีในเขตรับผิดชอบ ผลงาน : จำนวนเด็ก 0-2 ปีในเขตรับผิดชอบ ที่ได้ตรวจทั้งปาก+วางแผนการรักษาที่ลงแฟ้ม dental หัตถการทันตกรรม : บันทึกตรวจสุขภาพฟัน ( Dental Care ) 1) ประเภทผู้รับบริการ => เด็กก่อนวัยเรียน 2) ผู้ให้บริการต้องเป็น => ทันตแพทย์(02) หรือ เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข(06) เท่านั้น 3) จำนวนฟันน้ำนม => ต้องมากกว่า 0 4) บันทึกข้อมูลตามที่ตรวจจริง

28 กลุ่มเด็กคลินิกส่งเสริมสุขภาพเด็กดี (WCC)
ตัวชี้วัด : 20. ร้อยละเด็ก 0-2 ปี ผู้ปกครองได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ หรือ ได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ แหล่งข้อมูล : HDC เป้าหมาย : จำนวนเด็ก 0-2 ปีในเขตรับผิดชอบ ผลงาน : จำนวนเด็ก 0-2 ปีในเขตรับผิดชอบ ที่มีรหัสหัตถการ ได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ หรือ ได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ คนใหม่ รหัสหัตถการ : 20 ตัวชี้วัด : 21. ร้อยละเด็ก 0-2 ปี เคลือบ/ทา ฟลูออไรด์เฉพาะที่ เฉพาะเขตรับผิดชอบ (คน) (ใช้แบบความครอบคลุม) แหล่งข้อมูล : HDC เป้าหมาย : จำนวนเด็ก 0-2 ปีในเขตรับผิดชอบ ผลงาน : จำนวนเด็ก 0-2 ปีในเขตรับผิดชอบ ที่มีรหัสหัตถการ เคลือบ/ทา ฟลูออไรด์เฉพาะที่ คนใหม่ รหัสหัตถการ : , 21

29 กลุ่มเด็กคลินิกส่งเสริมสุขภาพเด็กดี (WCC)
ตัวชี้วัด : 22. ร้อยละเด็ก 0-2 ปี ได้รับบริการทันตกรรม (คน) แหล่งข้อมูล : HDC เป้าหมาย : จำนวนเด็ก 0-2 ปีในเขตรับผิดชอบ ผลงาน : จำนวนเด็ก 0-2 ปีในเขตรับผิดชอบ ที่มีรหัสหัตถการทันตกรรม (หากเป็นงานตรวจนับเฉพาะตรวจทั้งปาก+ วางแผน) 22 ทุกรหัส ยกเว้น : , , , , , , , ตัวชี้วัด : 23. ร้อยละเด็ก 3-5 ปี ได้รับการตรวจช่องปาก แหล่งข้อมูล : HDC เป้าหมาย : จำนวนเด็ก 3-5 ปีในเขตรับผิดชอบ ผลงาน : จำนวนเด็ก 3-5 ปีในเขตรับผิดชอบ ที่ได้ตรวจทั้งปาก+วางแผน ที่ลงแฟ้ม dental 23 รหัสหัตถการ :

30 กลุ่มเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : 24. ร้อยละเด็ก 3-5 ปี เคลือบ/ทา ฟลูออไรด์เฉพาะที่ เฉพาะเขตรับผิดชอบ (คน) (ใช้แบบความครอบคลุม) แหล่งข้อมูล : HDC เป้าหมาย : จำนวนเด็ก 3-5 ปีในเขตรับผิดชอบ ผลงาน : จำนวนเด็ก 3-5 ปีในเขตรับผิดชอบ ที่มีรหัสหัตถการ เคลือบ/ทา ฟลูออไรด์เฉพาะที่ คนใหม่ รหัสหัตถการ : , 24 ตัวชี้วัด : 25. ร้อยละเด็ก 3-5 ปี ได้รับบริการทันตกรรม (คน) แหล่งข้อมูล : HDC เป้าหมาย : จำนวนเด็ก 3-5 ปีในเขตรับผิดชอบ ผลงาน : จำนวนเด็ก 3-5 ปีในเขตรับผิดชอบ ที่มีรหัสหัตถการทันตกรรม (หากเป็นงานตรวจนับเฉพาะตรวจทั้งปาก+ วางแผน) ทุกรหัส ยกเว้น : , , , , , , , 25 ตัวชี้วัด : 26. ร้อยละเด็ก 6 ปี ได้รับการตรวจช่องปาก แหล่งข้อมูล : HDC เป้าหมาย : จำนวนเด็ก 6 ปีในเขตรับผิดชอบ ผลงาน : จำนวนเด็ก 6 ปีในเขตรับผิดชอบ ที่ได้ตรวจทั้งปาก+วางแผน ที่ลงแฟ้ม dental รหัสหัตถการ : 26

31 ตัวชี้วัด : 27. ร้อยละเด็ก 6 ปี ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันแท้
กลุ่มเด็กประถมศึกษา ตัวชี้วัด : 27. ร้อยละเด็ก 6 ปี ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันแท้ แหล่งข้อมูล : HDC เป้าหมาย : จำนวนเด็ก 6 ปีในเขตรับผิดชอบ ผลงาน : จำนวนเด็ก 6 ปีในเขตรับผิดชอบ ที่มีรหัสหัตถการเคลือบหลุมร่องฟันแท้ รหัสหัตถการ : 27 ตัวชี้วัด : 29. ร้อยละเด็ก 6-12 ปี ได้รับบริการทันตกรรม (คน) แหล่งข้อมูล : HDC เป้าหมาย : จำนวนเด็ก 6-12 ปีในเขตรับผิดชอบ ผลงาน : จำนวนเด็ก 6-12 ปีในเขตรับผิดชอบ ที่มีรหัสหัตถการทันตกรรม (หากเป็นงานตรวจนับเฉพาะตรวจทั้งปาก+วางแผน) ทุกรหัส ยกเว้น : , , , , , , , 29

32 รหัสหัตถการ : 2330011 กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 30. ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานได้ตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปาก แหล่งข้อมูล : HDC เป้าหมาย : จำนวนผู้ป่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบ (คน) ผลงาน : จำนวนผู้ป่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบที่มารับบริการ ได้ตรวจทั้งปาก+วางแผน ที่ลงแฟ้ม dental รหัสหัตถการ :

33 การคัดกรองผู้สูงอายุ ระยะยาว (ด้านทันตสุขภาพ)เลือก 1B1260 , 1B1261
กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ตัวชี้วัด : 31. ร้อยละผู้ป่วยเบาหวาน ได้รับบริการทันตกรรม (คน) แหล่งข้อมูล : HDC เป้าหมาย : จำนวนผู้ป่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบ (คน) ผลงาน : จำนวนผู้ป่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบที่มารับบริการ ที่มีรหัสหัตถการทันตกรรม (หากเป็นงานตรวจนับเฉพาะตรวจทั้งปาก+วางแผน) ทุกรหัส ยกเว้น : , , , , , , , 31 กลุ่มผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : 32. ร้อยละผู้สูงอายุ ได้รับการตรวจช่องปาก เฉพาะเขตรับผิดชอบ (คน) (ใช้แบบความครอบคลุม) แหล่งข้อมูล : HDC เป้าหมาย : จำนวนผู้ที่มีอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 60 ปีในเขตรับผิดชอบ ผลงาน : จำนวนผู้ที่มีอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 60 ปี ที่ได้ตรวจทั้งปาก+วางแผน ที่ลงแฟ้ม dental รหัสหัตถการ : การคัดกรองผู้สูงอายุ ระยะยาว (ด้านทันตสุขภาพ)เลือก 1B1260 , 1B1261

34 ก การตรวจสอบผลงาน หลังจากบันทึกข้อมูลและส่ง43แฟ้มแล้วหน่วยบริการสามารถตรวจสอบผลงานได้ที่เว็บ

35 กิจกรรมทันตกรรม :ตามเกณฑ์ 5 กลุ่มเป้าหมาย 17 กิจกรรม
1.1 คลินิกฝากครรภ์ (ANC) ดำเนินกิจกรรมดังนี้ 1) หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก รหัส 2) บริการขูดหินน้ำลายและอุดฟัน รหัส , 23871A1 ถึง 23871C4 3) บริการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ รหัส 4) บริการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ และPlaque control รหัส (เป้าหมายหญิงตั้งครรภ์หมายถึงหญิงตั้งครรภ์ที่มีสถานะคลอดแล้วในปีงบประมาณนี้) 1.2 คลินิกส่งเสริมสุขภาพเด็กดี (WCC) ดำเนินกิจกรรมดังนี้ 5) ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก 0-2 ปี รหัส 6) ฝึก พ่อ แม่ ผู้ปกครองแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ รหัส 7) เด็ก 0-2 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช รหัส , 8) เด็ก 0-2 ปี ได้รับบริการทันตกรรม ทุกรหัส ยกเว้นตรวจฟันเฉพาะที่ เพื่อการรักษา 1.3 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดำเนินกิจกรรมดังนี้ 9) เด็ก 3-5 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก รหัส 10) เด็ก 3-5 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช รหัส , 11) เด็ก 3-5 ปี ได้รับบริการทันตกรรม ทุกรหัส ยกเว้น , , , , , ,

36 กิจกรรมทันตกรรม :ตามเกณฑ์ 5 กลุ่มเป้าหมาย 17 กิจกรรม(ต่อ)
1.4 โรงเรียนประถมศึกษา ดำเนินกิจกรรมดังนี้ 12) เด็ก 6-7 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก รหัส 12.1) เด็ก ป1 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก รหัส 13) เด็ก 6-7 ปี ได้รับการเคลือบปิดหลุมร่องฟันในฟันกรามแท้ซี่ที่ 1 รหัส 13.1) เด็ก ป 1. ได้รับการเคลือบปิดหลุมร่องฟันในฟันกรามแท้ซี่ที่ 1 รหัส 14) เด็ก ปี ได้รับการเคลือบปิดหลุมร่องฟันในฟันกรามแท้ซี่ที่ 2 รหัส 14.1) เด็ก ป6. ได้รับการเคลือบปิดหลุมร่องฟันในฟันกรามแท้ซี่ที่ 2 รหัส 15) เด็ก 6-12 ปี ได้รับบริการทันตกรรม ทุกรหัส ยกเว้น , , , , , , , 15.1) เด็ก ป1-ป6 ได้รับบริการทันตกรรม ทุกรหัส ยกเว้น 1.5 กลุ่มผู้สูงอายุ ดำเนินกิจกรรมดังนี้ 16) ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก รหัส 17) ผู้สูงอายุที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก รหัส

37 เป้าหมายและกิจกรรมในกลุ่มโรคเรื้อรัง


ดาวน์โหลด ppt การบันทึกข้อมูลตามโครงสร้าง 43 แฟ้ม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google