ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ Kanit Ngowsiri, Ph.D. Oct 25, 2018
2
ความเชื่อมโยง และ พลวัตรที่เกี่ยวกับสุขภาพ
อายุ พฤติกรรมสุขภาพ ปกติ – เจ็บป่วย- เป็นผู้ป่วย ศาสนา เชื้อชาติ เพศ ที่มา :
3
3 อ. 2 ส.
4
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (environment)
เศรษฐกิจ: ทุนนิยม ความยากจน 2. การศึกษา : การรับรู้ข้อมูลสุขภาพ ประชากร : โครงสร้าง ครอบครัว การอพยพย้ายถิ่น สังคม : เพศสัมพันธ์ ยาเสพติด อาชญากรรม การเมือง : สังคมไม่เป็นสุข เครียด คุณภาพชีวิตลด เทคโนโลยี : วิถีชีวิตเปลี่ยน การแพทย์เจริญ สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม/ ระบบนิเวศน์ : ปัญหา โรคติดต่อ
5
ปัจจัยด้านบริการสุขภาพ (health service)
พรบ.ประกันสุขภาพแห่งชาติ : 30 บ.รักษาทุกโรค 2. พรบ.สุขภาพแห่งชาติ : การดูแลสุขภาพองค์รวม พรบ.สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สถานบริการสุขภาพ : ยกระดับ/พัฒนาคุณภาพ การแบ่งระดับสถานบริการ/การส่งต่อผู้รับบริการ อสม. / อสส. /แกนนำสุขภาพ ท้องถิ่น / เอกชน ร่วมจัดบริการสุขภาพ กำลังคนด้านสุขภาพ / การร้องเรียน (ม.41)
6
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ
7
วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ (healthy lifestyle)
: อุปนิสัย แนวทางการดำเนินชีวิตประจำวันของบุคคล ที่ส่งผลต่อสุขภาพ (+/-) การบริโภคของคนไทยปัจจุบัน กินผัก ผลไม้น้อย กินข้าว แป้ง หวาน(เครื่องดื่มน้ำตาล) เค็มมากขึ้น กินอาหารนอกบ้านเพิ่มขึ้น (เสี่ยงต่ออาหารปนเปื้อน) กินอาหารพร้อมปรุงและอาหารสำเร็จรูปเพิ่มขึ้น พฤติกรรมอื่นๆ ออกกำลังกายไม่เพียงพอ เคลื่อนไหวร่างกายลดลง สุขภาพจิต การควบคุมอารมณ์และความเครียด สูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่ม alcohol เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ ไม่เฝ้าระวังภาวะสุขภาพ ไม่เฝ้าระวังภาวะสุขภาพ
8
พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ
ด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพ (health responsibility) ด้านการปฏิบัติกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกาย (physical activity and exercise) ด้านโภชนาการ (nutrition) ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (interpersonal relations or interpersonal support) การพัฒนาทางจิตวิญญาณ (self actualization or spiritual growth) การจัดการกับความเครียด (stress management)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.