งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

(พ่อขุนรามคำแหงมหาราช)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "(พ่อขุนรามคำแหงมหาราช)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 (พ่อขุนรามคำแหงมหาราช)
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ (พ่อขุนรามคำแหงมหาราช)

3 ประวัติความเป็นมา

4 ลักษณะของศิลาจารึก สูง ๑ เมตร ๑๑ เซนติเมตร มีข้อความจารึกทั้ง ๔ ด้าน
จารึกสูง ๕๙ เซนติเมตร กว้าง ๓๕ เซนติเมตร ด้านที่ ๑ และ ๒ มี ๓๕ บรรทัด ด้านที่ ๓ และด้านที่ ๔ มี ๒๗ บรรทัด

5 ข้อความในศิลาจารึก ตอนที่ ๑ ตั้งแต่บรรทัดที่ ๑-๑๘ เป็นเรื่องของพ่อขุนรามคำแหงทรงเล่าประวัติพระองค์เอง ตั้งแต่ประสูติจน เสวยราชย์ ใช้สรรพนามแทนชื่อของพระองค์ว่า “กู”

6 ข้อความในศิลาจารึก(ต่อ)
ตอนที่ ๒ ตั้งแต่ด้านที่ ๑ บรรทัดที่ ๑๘ จนจบด้านที่ ๒ ทั้งหมด และด้านที่ ๓ ถึงบรรทัดที่ ๑๐ เล่าเหตุการณ์ต่างๆและขนบ ประเพณีของกรุงสุโขทัย เล่าเรื่องการสร้างวัดมหาธาตุเมืองศรีสัชนาลัยและ การประดิษฐ์อักษรไทย

7 ข้อความในศิลาจารึก(ต่อ)
ตอนที่ ๓ นับตั้งแต่ด้านที่ ๓ บรรทัดที่ ๑๐ จนถึงด้านที่ ๔ บรรทัดสุดท้าย คงจารึกต่อจากตอนที่ ๒ หลายปีเพราะรูปร่างอักษรต่างไปมาก กล่าวสรรเสริญและยอพระเกียรติของ พ่อขุนรามคำแหงบรรยากาศภูมิสถานบ้านเมืองและขอบเขตของอาณาจักรสุโขทัย

8 ลักษณะอักษรในศิลาจารึก
สระและพยัญชนะอยู่บรรทัดเดียวกัน สระส่วนใหญ่อยู่หน้าพยัญชนะ ๒. ไม่มีไม้หันอากาศ แต่ใช้การซ้อนตัวสะกดแทน เช่น หวว (หัว) ๓. ใช้ “ย” แทน “เอีย” ในกรณีที่สระเอีย มีตัวสะกด เช่น วยง (เวียง)

9 ลักษณะอักษร(ต่อ) ๔. ใช้วรรณยุกต์ ๒ รูป ได้แก่ ่ (ไม้เอก) และ ๋ (ไม้โท)
๔. ใช้วรรณยุกต์ ๒ รูป ได้แก่ ่ (ไม้เอก) และ ๋ (ไม้โท) ๕. ใช้ ๐ (นฤคหิต) แทนเสียงสระ “อำ” และเสียง “ม” ที่เป็นตัวสะกด เช่น กลํ (กลม) ๖. สระออ และสระอือ ไม่ต้องใช้ “อ” เคียง เช่น พ่(พ่อ) ชื่(ชื่อ)

10 ตัวอักษรในศิลาจารึกกับอักษรปัจจุบัน

11 ตัวอักษรในศิลาจารึกกับอักษรปัจจุบัน

12

13

14 คำศัพท์ที่ปรากฏด้านที่๑
เยียเข้า -  ยุ้งฉาง ผิดแผกแสกว้างกัน - ทะเลาะกัน แล่งความ - ตัดสินความ บ่ใคร่พีน - ไม่อยากได้ บ่ใคร่เดือด - ไม่ริษยา

15 คำศัพท์ที่ปรากฏด้านที่ ๑
ตวง - จนกระทั่ง บ่ไร้ - ไม่ยาก หัวพู่งหัวรบ - ข้าศึกชั้นหัวหน้า ไพร่ฟ้าหน้าปก - ประชาชนที่มีทุกข์ร้อน เจ็บท้องข้องใจ - ทะเลาะกัน เบกพล - ชื่อช้าง ลูท่าง  - เป็นการสะดวก

16 วิเคราะห์คุณค่าในศิลาจารึก
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คุณค่าด้านเนื้อหา

17 คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ๑. เป็นร้อยแก้วที่มีสัมผัสคล้องจอง ๒.การใช้คำซ้ำ
๓.การมีคำสร้อยสลับวรรค

18 ๑. เป็นร้อยแก้วที่มีสัมผัสคล้องจอง
ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว เพื่อนจูงวัวไปค้า ขี่ม้าไปขาย แม่กูชื่อนางเสือง พี่กูชื่อบานเมือง

19 ๒.การใช้คำซ้ำ “กูได้ตัวเนื้อตัวปลา กูเอามาแก่พ่อกู กูได้หมากส้มหมากหวาน อันใดกินอร่อยกินดี กูเอามาแก่พ่อกู กูไปตีหนังวังช้างได้ กูเอามาแก่พ่อกู กูไปท่บ้านท่เมืองได้ช้างได้งวง ได้ปั่วได้นาง ได้เงือนได้ทอง เอามาเวนแก่พ่อกู”

20 ๓.การมีคำสร้อยสลับวรรค
“... ได้ตัวเนื้อตัวปลา ...กูเอามาแก่พ่อกู...ได้หมากส้มหมากหวาน อันใดกินอร่อยดี...กูเอามาแก่พ่อกู...ไปตีหนังวังช้างได้...กูเอามาแก่พ่อกู...ไปท่บ้านท่เมืองได้ช้างได้งวง ได้ปั่วได้นาง ได้เงือนได้ทอง ... กูเอามาเวนแก่พ่อกู...”

21 คุณค่าด้านเนื้อหา ๑.ด้านประวัติศาสตร์ ๒.ด้านนิติศาสตร์ ๓.ด้านเศรษฐกิจ
๔.ด้านสังคมวัฒนธรรม

22


ดาวน์โหลด ppt (พ่อขุนรามคำแหงมหาราช)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google