ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ อสม. สู่การทำงานสุขภาพเชิงรุก
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ อสม สู่การทำงานสุขภาพเชิงรุก โดยนางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชชาน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ วันศุกร์ที่ 2๔ มิถุนายน 25๕๙ ณ โรงแรมมารวย การ์เด้น กรุงเทพมหานคร 1-14
2
จุดเริ่มต้นการพัฒนา อสม.
แผนฯ 4 แผนฯ 11 อสม. สสม. อัลมา-อตา WHO 14 องค์ประกอบ การสุขศึกษา โภชนาการ การจัดหาน้ำสะอาดและการสุขาภิบาล การเฝ้าระวังโรคประจำถิ่น การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การอนามัยแม่และเด็กและการวางแผนครอบครัว การรักษาพยาบาลง่าย ๆ การจัดหายาที่จำเป็นในหมู่บ้าน สุขภาพจิต ทันตสาธารณสุข การอนามัยสิ่งแวดล้อม การคุ้มครองผู้บริโภค การป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุ และโรคไม่ติดต่อ การป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ “สุขภาพดีถ้วนหน้า 2543” หลักการที่สำคัญของการสาธารณสุขมูลฐาน 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2. การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม 3. มีการปรับระบบบริการพื้นฐานของรัฐ เพื่อรองรับการสาธารณสุขมูลฐาน 4. การผสมผสานกับงานของกระทรวงอื่นๆ ผสส. อสม. อสค. 1-14
3
ชมรม อสม.ระดับ ประเทศ ภาค เขต จังหวัด อำเภอ
วิวัฒนาการพัฒนา อสม. จาก แผนฯ 4 แผนฯ 11 1. ผสส. บทบาท อสม. ส่งเสริม ป้องกัน (เฝ้าระวัง) รักษาเบื้องต้น ฟื้นฟู พิทักษ์สิทธิ์คุ้มครอง ผู้บริโภคด้านสุขภาพ -ต้นแบบสุขภาพดี อสม. อสค. แผนฯ 7 2. อสม. อสม. เชี่ยวชาญ 10 สาขา อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชน อสม. นักจัดการสุขภาพกลุ่มวัย -อสม.นักบริหารมืออาชีพ 14 องค์ประกอบ ชมรม อสม.ระดับ ประเทศ ภาค เขต จังหวัด อำเภอ (สมาคม มูลนิธิ ) 1-14
4
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนา อสม
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนา อสม.ในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน และพิทักษ์สิทธิของประชาชนด้านสุขภาพ 1. โครงการเสริมสร้างศักยภาพ อสม.ด้านการ เฝ้าระวังป้องกันการทุจริตใน ระดับชุมชน เพื่อพัฒนาความรู้ด้านการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตในระดับ ชุมชนให้ อสม. เป้าหมายการอบรม : อสม. ตำบลละ 12 คน รวมทั้งสิ้น 87,800คน อสม.ที่ผ่านอบรมสามารถขยาย เครือข่ายได้ 10รายขึ้นไป(ร้อยละ 60 ) 1-14
5
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนา อสม
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนา อสม.ในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน และพิทักษ์สิทธิของประชาชนด้านสุขภาพ โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. นักจัดการ สุขภาพกลุ่มวัย ปีงบประมาณ 2559 เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับ บริการปฐมภูมิระดับชุมชนที่มีคุณภาพ จาก อสม. เป้าหมายการอบรม : อสม. ตำบลละ 6 คน รวมทั้งสิ้น 52,236 คน :อสม.มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน(ร้อยละ 60 ) :ระดับความสำเร็จในการส่งเสริม สนับสนุน อสม.นักจัดการสุขภาพ กลุ่มวัยในตำบลจัดการ สุขภาพแบบบูรณาการ 1-14
6
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนา อสม
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนา อสม.ในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน และพิทักษ์สิทธิของประชาชนด้านสุขภาพ 3. โครงการส่งเสริมบทบาทเครือข่าย อสม. ในการ ขับเคลื่อนระบบสุขภาพระดับ อำเภอ ปีงบประมาณ 2559 3.1 องค์กร อสม. พลังชุมชนรู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับ พฤติกรรม 3.2 การขับเคลื่อนชมรม อสม. 3.3 การจัดประชุมวิชาการสุขภาพภาคประชาชน 4 ภาค 3.4 ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กร อสม.ให้มีมาตรฐาน 3.5 ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เพื่อพิทักษ์สิทธิของประชาชน ด้านสุขภาพผ่านสื่อฯ 3.6 ส่งเสริม อสม. เชิงรุก ให้ อสม. ได้รับค่าป่วยการ เพื่อส่งเสริมพัฒนา สนับสนุน อสม. ภาคีเครือข่ายสุขภาพภาค ประชาชน ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรม สุขภาพและการจัดการระบบสุขภาพชุมชน และชมรมทุกระดับมี ความเข้มแข็ง เป้าหมาย : คณะกรรมการบริหารชมรม 35 คน : ชมรม อสม.ระดับจังหวัด 76 จังหวัด และระดับ อำเภอ 878 อำเภอ 1-14
7
บทบาท อสม. มีบทบาท เป็นผู้นำการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพอนามัย
และคุณภาพชีวิตของประชาชนในหมู่บ้าน/ ชุมชน เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Chang agents) ด้านพฤติกรรมสุขภาพอนามัยของประชาชน บทบาทที่สำคัญ 6 ประการ.. “..แก้ข่าวร้าย กระจายข่าวดี ชี้บริการ ประสานงานสาธารณสุข บำบัดทุกข์ประชาชน ทำตนเป็นแบบอย่างที่ดี..” 1-14
8
จากนโยบายนำสู่การพัฒนา อสม. และ อสค.
นโยบายกระทรวงฯ หรือผังยุทธศาสตร์กระทรวงฯ การพัฒนาระบบริการปฐมภูมิ นโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ บริการปฐมภูมิ/พัฒนาขีดความสามารถ ในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง อสม.เชี่ยวชาญ ๑๐ สาขา อสม. เชี่ยวชาญ 10 สาขา นโยบายกองสนับสนุนสุขภาพ ภาคประชาชน อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชน สนับสนุนบทบาท อสม.ในการเป็น แกนนำในการจัดการสุขภาพชุมชน อสม. นักจัดการสุขภาพกลุ่มวัย ๐สนับสนุนการจัดตั้ง อสค.: อาสาสมัครประจำครอบครัว อสม. นักบริหารมืออาชีพ 1-14
9
การอบรม อสม.นักบริหารมืออาชีพ
พัฒนาศักยภาพ อสม. ผู้นำ กรรมการชมรม อสม. ระดับประเทศ ๓๕ คน ให้มีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงานการเป็น ผู้นำ บริหารองค์กร อสม.อย่างมีประสิทธิภาพ / ต่อเนื่อง ส่งเสริมค่านิยมการเป็นจิตอาสา การช่วยเหลือ ทำ ประโยชน์แก่ผู้อื่น การเป็นบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ 1-14
10
การอบรม อสม.นักบริหารมืออาชีพ
จัดอบรมรุ่นที่ ๑ ที่ สบส. เขต ๑๒ จังหวัดยะลา มีหลักสูตร อบรม ๗ วัน มีใบประกาศ คู่มือปฏิบัติงาน บัตรประจำตัว จัดช่วงเวลา ปลายกรกฎาคม ๕๙ –สิงหาคม ๕๙ 1-14
11
การอบรม อสค. : อาสาสมัครประจำครอบครัว
การอบรม อสค. : อาสาสมัครประจำครอบครัว อบรม ตำบล ละ ๕ คน รวม ๔๐.๐๐๐ คน อบรมที่ รพ.สต. กลุ่มเป้าหมายอบรม เป็นญาติ /ผู้ดูแล ผู้ป่วย เรื้อรังในครอบครัว เช่น เบาหวาน ความดัน ไต ผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพิง มี อสม. เป็นพี่เลี้ยง ๑ คน : อสค. ๓ คน อบรม เดือน สิงหาคม ๕๙ 1-14
12
การสร้างความเข้มแข็งให้กับ องค์กร อสม.
ส่งเสริมการเป็นผู้นำ องค์กร อสม. เช่น จัดประชุมถ่ายทอด นโยบายสุขภาพภาคประชาชนในพื้นที่หรือ ส่วนกลาง มีกิจกรรมการสร้างพลัง ประกาศเจตนารมณ์ร่วมกับ องค์กร ภาคีสุขภาพ เช่น ลดละเลิกบุหรี่ ลดอุบัติเหตุ เทศกาลปีใหม่ สงกรานต์ การสร้างสุขภาพ รณรงค์ต่างๆ ร่วมเป็นกรรมการ ประธานในกิจกรรม /โครงการ เป็นบุคคล /องค์กรต้นแบบด้านการมีส่วนร่วม /สุขภาพดี /ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดี ลดเสี่ยง ลดโรค สร้างโครงสร้างองค์กร อสม.ที่เข้มแข็ง มีการบริหาร จัดการชัดเจน 1-14
13
“อาสา สามัคคี มีวินัย อุดมการณ์” .
1-14 13
14
กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
ขอขอบคุณ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน 1-14
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.