ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยCordelia Thompson ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
ยินดีต้อนรับ นายทอง พันทอง รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
2
คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับกลุ่มบริการ (คพสก.)
คณะอนุกรรมการ regulator ระดับกลุ่มบริการ (Zonal Regulatory Committee) คณะอนุกรรมการ Provider ระดับกลุ่มบริการ (Zonal Provider Committee) คณะอนุกรรมการด้านการสนับสนุนทรัพยากร
3
คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับกลุ่มบริการที่ 2 (Area Health Board)
คพสอ.สันทราย (รพ. ขนาด M2) หัวหน้ากลุ่มพัฒนาสุขภาพ ระดับกลุ่มบริการที่ 2 คพสอ.แม่แตง (รพ. ขนาด F2) คพสอ.สะเมิง (รพ. ขนาด F2) คพสอ.กัลยาณิวัฒนา (รพ. ขนาด F3) คพสอ.เชียงดาว (รพ. ขนาด F1) คพสอ.เวียงแหง (รพ. ขนาด F2) คพสอ.พร้าว (รพ. ขนาด F2)
4
รวมทั้งหมด(เทศบาล+อบต.)
การแบ่งเขตการปกครอง อำเภอ จำนวนประชากร ตำบล ชุมชน/ หมู่บ้าน จำนวนบ้าน เทศบาล อบต. รวมทั้งหมด(เทศบาล+อบต.) เมือง รวม สันทราย 129,336 12 125 39,571 1 11 เชียงดาว 70,698 7 83 17,165 2 9 แม่แตง 71,560 13 120 21,980 5 6 สะเมิง 23,165 44 4,869 4 พร้าว 48,572 109 14,656 10 เวียงแหง 17,739 3 23 9,118 กัลยาณิวัฒนา 12,149 22 1,823 รวมโซนฯ 2 373,219 54 526 109,182 31 33 55 แหล่งที่มา : ข้อมูลประชากรกลางปี 2560 ข้อมูลจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย วิเคราะห์โดย : งาน IT กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สสจ.เชียงใหม่ - กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย (ข้อมูล ณ วันที่ 11 พ.ค. 2561)
5
จำนวนหน่วยงาน/สถานบริการสาธารณสุข
อำเภอ โรงพยาบาล (เตียงตามกรอบ) เตียงจริง สสอ. รพ.สต. PCU สถานีอนามัย สสช. สันทราย M2 1 (120 เตียง) 168 1 13 เชียงดาว F1 1 (60 เตียง) 89 11 แม่แตง F2 62 14 สะเมิง F2 1 (30 เตียง) 32 6 9 พร้าว F2 67 16 เวียงแหง F2 36 3 กัลยาณิวัฒนา F3 1 (10 เตียง) 10 4 2 รวมโซนฯ 2 7 แห่ง เตียง 464 เตียง (ข้อมูล ณ 7 ก.พ. 61) 7
6
เครือข่ายบริการ รวมโครงการทั้งหมด โครงการ งบประมาณ สันทราย 159 7,812,446 แม่แตง - กัลยาณิวัฒนา 72 4,009,255 สะเมิง 45 2,374,002 รวมทั้งสิ้น 276 14,195,703
7
สอดคล้องภายใต้ยุทธศาสตร์
8
สรุปโครงการ คพสอ.สันทราย
รายละเอียดโครงการ (แยกตามผู้รับผิดชอบหลัก) รวม โครงการ งบประมาณ โรงพยาบาล 59 3,276,224 สสอ. 80 1,270,315 คพสอ. (งบที่ได้รับจัดสรรเพิ่ม) 20 3,265,907 รวมทั้งสิ้น 159 7,812,446
10
ข้อมูล ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2561
การเบิกจ่ายงบประมาณ ข้อมูล ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2561
11
รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด 1 ตุลาคม 2560 - 31 พฤษภาคม 2561
12
ประเด็นการนิเทศ ติดตาม กำกับงาน สาธารณสุข รอบที่ 3ปีงบประมาณ 2560 RB 1 ปฐมวัย แม่และเด็ก RF 1.1 อัตราส่วนการตายมารดาไทย RF 1.2 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มี พัฒนาการสมวัย RF 1.3 มหัศจรรย์ 1,000 วัน
13
ตัวชี้วัด สันทราย แม่แตง สะเมิง กัลยาณิวัฒนา รวมโซนฯ 1. อัตราส่วนการตายมารดาไทย (ไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน) ไม่มีมารดาตาย 2. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ต่ำกว่า 12 สัปดาห์ (ร้อยละ 60) 84.67 70.29 75.60 96.23 81.69 3. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ (ร้อยละ 60) 76.00 40.84 62.60 92.45 67.97 4. ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ (ไม่เกินร้อยละ 18) 13.62 7.45 5.60 23.68 12.58 5. ภาวะตกเลือดหลังคลอด (ไม่เกินร้อยละ 5) 3.90 2.08 0.90 1.49 2.09 6. ร้อยละเด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน มีพัฒนาการสมวัยรวม (ครั้งแรกและหลังกระตุ้น 30 วัน) (ร้อยละ 85) 96.47 100.00 99.43 94.79 97.67 7. ร้อยละเด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาการภายใน 30 วัน (ร้อยละ 100) 70.21 95.83 91.51 8. ร้อยละเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน (ร้อยละ 54) 36.18 61.11 39.47 97.96 58.68 9. อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน (Excusive Breast Feeding) (ร้อยละ 30) 11.33 56.15 71.79 97.84 59.27
14
ปัญหา อุปสรรค ทิศทางในการพัฒนา
- บุคลากรและระบบสนับสนุนไม่เพียงพอ ต่อภาระงานที่เพิ่มขึ้น - ความไม่พร้อมในการดูแลหญิงเข้าสู่ ภาวะคลอดที่มีความเสี่ยง - หญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 20 ปี - ทักษะการประเมินพัฒนาเด็กของ เจ้าหน้าที่ - ปัญหาด้านค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เด็กที่พัฒนาการล่าช้าที่ส่งต่อไปรักษาที่ โรงพยาบาลระดับจังหวัด ส่วนมากจะ ไปไม่ต่อเนื่อง - ผู้ปกครองไม่เล็งเห็นความสำคัญ - นโยบายมหัศจรรย์ 1,000วัน พบ ปัญหาเรื่องการจัดเก็บข้อมูล ความ แตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมทำ ให้เกิดความร่วมมือน้อย - ขยายการใช้ยาป้องกันภาวะเจ็บครรภ์ก่อนกำหนดไปยังโรงพยาบาลทุกแห่ง - ปรับปรุงระบบส่งต่อ - จัดทำโครงการ/ซ้อมแผน/คู่มือแนวทางที่ชัดเจน - ดำเนินการด้วยแนวคิด 7 โรงพยาบาล - อบรมให้ความรู้ และพัฒนาทักษะ ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง - เพิ่มการจัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือครอบครัวที่พาเด็กไปรักษาในเมือง - ควรเพิ่มนักกิจกรรมบำบัด - มีทีมออกเชิงรุกสำหรับติดตามเด็กที่ขาดนัด - ให้ความรู้แก่คนในชุมชน/อสม. เพื่อทำงานร่วมกับคนในพื้นที่ ในการดำเนินงานมหัศจรรย์ 1,000 วัน
15
ประเด็นการนิเทศ ติดตาม กำกับงาน สาธารณสุข รอบที่ 3ปีงบประมาณ 2560
RB 2 วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน RF 2.1 ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free) RF 2.2 ร้อยละของ เด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน RF 2.3 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี
16
1. ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free) (≥ ร้อยละ 60)
ตัวชี้วัด สันทราย แม่แตง สะเมิง กัลยาณิวัฒนา รวมโซนฯ 1. ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free) (≥ ร้อยละ 60) 77.73 88.62 78.38 85.71 82.61 2. ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free) (≥ ร้อยละ 62) 68.02 55.49 61.18 49.86 58.63 3. ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน (อายุ 6-14 ปี) (ร้อยละ 66) 53.21 73.85 61.89 79.94 67.22 - มีภาวะเริ่มอ้วน/อ้วน (ไม่เกินร้อยละ 10) 16.10 31.22 11.81 7.48 16.65 - มีภาวะเตี้ย (ไม่เกินร้อยละ 5) 13.15 4.65 5.83 8.43 8.01 - มีภาวะผอม (ไม่เกินร้อยละ 5) 3.96 8.92 5.67 4.14 4. อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15–19 ปี (ไม่เกินอัตรา 40 ต่อพันประชากร) 6.98 20.83 46.51 9.43 20.93 5. การตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุ 15–19 ปี (ไม่เกินร้อยละ 10) 21.43 25.00 15.38 20.00 20.45
17
ปัญหา อุปสรรค ทิศทางในการพัฒนา
- เด็กวัยเรียนส่วนใหญ่ไปเรียนต่างอำเภอ ทำให้การเข้าถึงบริการทันตกรรมไม่ทั่วถึง - ในพื้นที่เป็นเด็กต่างด้าว มากกว่าร้อยละ 60 มีการโยกย้ายที่อยู่ตามผู้ปกครอง ทำให้ไม่สามารถสะท้อนปัญหาที่แท้จริง - ข้อจำกัดด้านอัตรากำลังของทันตาภิบาล - การบันทึกข้อมูลในระบบยังไม่ถูกต้อง ครบถ้วน - เด็กวัยเรียนที่มีปัญหาโภชนาการ ไม่ให้ความร่วมมือในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และผู้ปกครองขาดความตระหนักด้านโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับเด็ก - วัฒนธรรมของชนเผ่าที่แต่งงานเร็ว เมื่ออายุประมาณ 15 ปี ทำให้เกิดภาวะหญิงตั้งครรภ์อายุไม่ถึง 20 ปี - วางแผนการปฏิบัติงานให้เหมาะสม สอดคล้องกับบริบทของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในแต่ละกลุ่มวัย - วางระบบบริหารจัดการด้านบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ เหมาะสม ครอบคลุม - จัดกิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพ บูรณาการกับงานสุขศึกษาในโรงเรียน - ให้ความรู้และสร้างความตระหนักให้กับผู้ปกครอง - ให้ความรู้ ในด้านของความเสี่ยงที่มีบุตรอายุน้อยและเมื่อยังไม่พร้อม - ดำเนินงานในรูปของภาคีเครือข่าย ในชุมชน
18
ประเด็นการนิเทศ ติดตาม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3ปีงบประมาณ 2560
RB 3 ผู้สูงอายุ/ผู้พิการ RF 3.1 ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ RF 3.2 การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (Palliative care) RF 3.3 งานคนพิการ RF 3.4 งานผู้สูงอายุ
19
ตัวชี้วัด สันทราย แม่แตง สะเมิง กัลยาณิวัฒนา รวมโซนฯ 1. ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 50) 16.66 (ผ่าน 1 แห่ง) 92.30 50.00 100.00 64.74 2. ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก (≥ ร้อยละ 20) 14.47 34.76 43.15 65.21 39.39 3. ร้อยละของโรงพยาบาล ที่มีการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative Care) (ผ่านเกณฑ์) ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่าน ผ่าน 2 แห่ง 4. ร้อยละคนพิการ 8 ประเภท เข้าถึงบริการด้านสุขภาพ (ร้อยละ 80) 62.39 - 53.37 88.89 68.21 5. ร้อยละของ Healthy Ageing (เพิ่มขึ้น หรือคงที่จากปี 2560) 97.84 (เพิ่ม) 82.78 89.57 92.39 90.64
20
ปัญหา อุปสรรค ทิศทางในการพัฒนา
- ปัญหาการเบิกจ่าย และการทำงาน ของ Care giver - การเปลี่ยนผู้ดูแลระบบ Palliative care ทำให้มีการส่งต่อข้อมูล คลาดเคลื่อน - ผู้รับผิดชอบงานในแต่ละหอผู้ป่วยยัง ทำงานได้ไม่ครบกระบวนการ เนื่อง ด้วยภาระงานมาก ผู้พิการ - ข้อมูลผู้พิการขาดความสมบูรณ์ - ปัญหาด้านคุณภาพชีวิตผู้พิการใน ประเด็นสุขภาพ - ปัญหาทางเศรษฐกิจทางสังคม - อบรมให้ความรู้แก่ Care giver - ประสานงานและหารือในกลุ่ม ผู้รับผิดชอบ ส่งต่อข้อมูลแก่เครือข่าย ในการดูแลผู้ป่วย Palliative care - นำเสนอปัญหาให้กลุ่มการพยาบาล เพื่อมอบหมายผู้รับผิดชอบ Palliative care ในแต่ละหอผู้ป่วย - นำข้อมูลจาก พมจ./ท้องถิ่น และ สำรวจในพื้นที่ร่วมกับชุมชน เพื่อ ตรวจสอบความถูกต้อง และนำมา บันทึกในระบบ - มีช่องทางในการคืน/แลกเปลี่ยน ข้อมูล - ทีมสหวิชาชีพร่วมกับชุมชนในการ ดำเนินงานเชิงรุกในพื้นที่มากขึ้น - สำรวจความต้องการในการทำงาน ของผู้พิการ - ประสานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการ ส่งเสริมอาชีพ - มีระบบนัดหมายล่วงหน้ากับ โรงพยาบาลที่ส่งต่อ
21
ประเด็นการนิเทศ ติดตาม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3
ประเด็นการนิเทศ ติดตาม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3 ปีงบประมาณ 2560 RB 4 โรคไม่ติดต่อ RF 4.1 อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน RF อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง เบาหวานและ ความดัน โลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิต สูง RF ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ RF ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/ 1.73m2/yr RF 4.3 ร้อยละผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการรักษาภายในระยะเวลาที่ กำหนด
22
ตัวชี้วัด สันทราย แม่แตง สะเมิง กัลยาณิวัฒนา รวมโซนฯ
1. อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (อัตราไม่เกิน 16 ต่อประชากรแสนคน) 3.87 15.90 0.75 5.13 2. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ไม่เกินร้อยละ 2.40) 1.17 1.93 1.07 0.85 1.25 3. อัตราประชากรกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน (>ร้อยละ 10) 8.61 7.56 2.52 16.72 8.85 4. ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี (≥ ร้อยละ 40) 2.82 15.66 13.33 33.91 16.43 5. ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี (≥ ร้อยละ 50) 8.09 19.63 46.98 29.85 26.13 6.ร้อยละผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการประเมิน CVD risk (≥ ร้อยละ 82) 51.55 74.31 78.90 77.47 70.55 7.ร้อยละของผู้ป่วย CKD มีอัตราการลดลงของ eGFR<4ml/min/1.73m2yr (≥ ร้อยละ 66) 50.86 62.14 53.57 52.94 54.87 8. ร้อยละสตรีอายุ ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (ร้อยละ 80) 72.00 48.40 67.17 84.69 68.06 9. ร้อยละสตรีอายุ ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านม โดยเจ้าหน้าที่ (ร้อยละ 80) 60.09 80.89 61.80 94.85 74.40
23
ปัญหา อุปสรรค ทิศทางในการพัฒนา
- ระยะทางไกล และเครื่องมือที่มียังไม่พร้อม กรณีเกิดอุบัติเหตุทางถนน - ขาดการติดตามผู้ป่วย - ขาดการประสานงานอย่างเป็นระบบ ไม่ทำตามแนวทาง - กิจกรรมที่ดำเนินการไม่ครอบคลุมประชากร และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมยังไม่ได้ตามเป้าหมาย - ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ยังไม่สามารถควบคุมความดันได้ดี เนื่องจากพฤติกรรมการบริโภค - ระเบียบพัสดุใหม่ ส่งผลให้การดำเนินงานล่าช้า - ระบบข้อมูล HDC ไม่ตรงกับข้อมูลของหน่วยบริการ ยังขาดการตรวจสอบและแก้ไข้อย่างเป็นรูปธรรม ทำให้เกิดปัญหาสะสมต่อเนื่อง - หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการประชุมติดตาม ขับเคลื่อนการดำเนินงานไม่สม่ำเสมอ - รณรงค์เชิงรุก ให้ชุมชนมาส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง จัดทำป้ายเตือนในจุดเสี่ยง - มีระบบดูแลผู้ป่วยเชิงรุก - จัดทำ CPG การทำงานและส่งต่อข้อมูล ในระดับอำเภอ - เพิ่มทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้แก่พื้นที่ เพื่อการดูแลที่ต่อเนื่อง - ปรับเปลี่ยนกิจกรรมเป็นการประชุมกลุ่มบ่อยๆ ติดตามกลุ่มเสี่ยงเป็นประจำ เพื่อกระตุ้นให้เกิดความตระหนักและสนใจในสุขภาพตนเอง - ปรับระบบงานจากโครงการมาสู่แผนงานประจำ เพื่อลดระยะเวลาการจัดซื้อจัดจ้างที่ต้องรอโครงการอนุมัติ - พัฒนาระบบข้อมูลและการใช้ข้อมูลในทิศทางเดียวกัน - ประชุม หรือ มีช่องทางติดตามงาน เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง
24
ประเด็นการนิเทศ ติดตาม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3
ปีงบประมาณ 2560 RB 5 ระบบควบคุมโรคและภัยสุขภาพ/อนามัยสิ่งแวดล้อม RF 5.1 ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และ ทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง _PA RF 5.2 ECS_PA RF 5.3 ไข้เลือดออก RF 5.4 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital_PA RF 5.5 อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ RF 5.6 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่_PA RF 5.7 OVCCA RF 5.8 การควบคุมโรคหนอนพยาธิฯ (เป้าหมาย 11 อำเภอ)
25
ตัวชี้วัด สันทราย แม่แตง สะเมิง กัลยาณิวัฒนา รวมโซนฯ
1. ร้อยละของอำเภอมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง (มีระบบ) มีระบบ - 2. อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน (ระดับ1,2) ภายใน 24 ชั่วโมง (ร้อยละ 12) 0.46 3.64 5.75 2.46 3. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ ๑๒ ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี (ร้อยละ 12) 54.29 (ยังไม่พบผู้ป่วย) 4. หมู่บ้าน/ชุมชนที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออก เกิด secondary generation ไม่เกินร้อยละ 20 (ไม่เกินร้อยละ 20) 0.00 5. ผลการประเมินโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital (ผ่านเกณฑ์) ระดับดี พื้นฐาน ระดับดี 3 แห่ง พื้นฐาน 1 แห่ง 6. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ (อัตรา ≤ 6.3 ต่อประชากรแสนคน) 2.34 4.77 8.65 16.22 7.95 7. ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต (ร้อยละ 55) 38.75 38.95 71.00 97.00 61.42 8. ร้อยละความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ (ร้อยละ 85) 86.96 87.45 อยู่ระหว่างรักษา 2 ราย อยู่ระหว่างรักษา 1 ราย 87.20 9. ๒. การคัดกรองมะเร็งท่อน้ำดี ในประชาชนอายุ 40 ปีขึ้นไปด้วยวิธีอัลตราซาวด์ (ร้อยละ 80) 71.76 ระหว่างดำเนินการ
26
ปัญหา อุปสรรค ทิศทางในการพัฒนา
- สถานที่คับแคบ ผู้รับบริการมาก บุคลากรไม่เพียงพอ เตียงเต็ม ผู้ป่วยรอที่ ER นาน - พื้นที่ห่างไกล ทำให้เกิดปัญหาการการรับ-ส่งต่อ - ขาดวัสดุอุปกรณ์เพื่อป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก - การคัดกรอง TB โดยวิธีสัมภาษณ์ และ CXR ในกลุ่มผู้สงอายุทำได้ไม่ครอบคลุม - การตามโครงการลงข้อมูล โรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีไม่ถูกต้อง - กลุ่มเป้าหมายไม่ให้ความร่วมมือ มีความตระหนักน้อย - การประสานงานมีความลำบากในเรื่องภาษา/การเก็บสิ่งส่งตรวจ - อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จสูง เนื่องจากปัญหาทางสุขภาพจิต เนื่องจากปัญหาทางเศรษฐกิจ ครอบครัว - พื้นที่ห่างไกล มีความลำบาก ทำให้การเข้าถึงบริการสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยด้านสุขภาพจิต ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย - จัด Zone ใน ER - คัดแยกผู้ป่วยให้ถูกต้องตามความฉุกเฉิน - จัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นให้เพียงพอ - มีการประสานงานร่วมกับ ท้องถิ่น มากขึ้น - ของงบประมาณในการสนับสนุนจัดซื้ออุปกรณ์ควบคุมโรคไข้เลือดออก ของกองทุนจากท้องถิ่น - ประสานกับอปท.จัดทำโครงการและจัดบริการรถรับ-ส่ง กลุ่มเป้าหมาย เพื่อคัดกรองวัณโรคโดยวิธีการ CXR - จัดอบรมการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้องอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง - ประสานเครือข่าย อสม. ผู้นำชุมชน อสค. ในการดำเนินงานเชิงรุกในพื้นที่
27
ประเด็นการนิเทศ ติดตาม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3ปีงบประมาณ 2560
RB 6 คุ้มครองผู้บริโภค/เภสัช RF 6.1 ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU)_PA ร้อยละของโรงพยาบาลมีระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพ อย่างบูรณาการ (AMR)
28
1. ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) (ผ่านเกณฑ์ ขั้น 1)
ตัวชี้วัด สันทราย แม่แตง สะเมิง กัลยาณิวัฒนา รวมโซนฯ 1. ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) (ผ่านเกณฑ์ ขั้น 1) ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่าน ผ่าน 1 แห่ง 2.ร้อยละของรพ.สต./หน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่าย ที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะใน RI และ AD <= ร้อยละ 20 ทั้ง 2 โรค (>ร้อยละ 40) 40.00 37.50 33.33 66.67 44.37
29
ปัญหา อุปสรรค ทิศทางในการพัฒนา - ไม่มีคณะกรรมการขับเคลื่อนงาน ชัดเจน ทำให้การดำเนินตาม แนวทาง เพื่อพัฒนางานให้ผ่าน เกณฑ์มีความล่าช้า - พื้นที่ทุรกันดารเดินทางลำบาก หรือเหตุผลเกี่ยวกับสุขอนามัย หลายๆ ครั้งแพทย์จึงเลือกที่จะให้ ยา anti-biotic ไปเพื่อป้องกันการ ติดเชื้อก่อน - เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานไม่มีความ ตระหนักเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสม เหตุผล และยังใช้แนวทางที่มีได้ ไม่ครบถ้วน ไม่เป็นไปทิศทาง เดียวกัน - ใช้เวทีการประชุมของ คณะกรรมการพัฒนาระบบยา โรงพยาบาลในการขับเคลื่อนงาน - กำหนดให้มีตัวแทนจากทุก หน่วยงานในการขับเคลื่อนงาน RDU โดยให้ทุกฝ่ายตระหนักและ มีส่วนร่วมในการพัฒนา - ประชาสัมพันธ์ อบรมให้ความรู้ แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ในการ ปฏิบัติตามแนวทางเพื่อ ส่งเสริม การใช้ยาอย่างสมเหตุผล รวมถึง มีการประเมินผล
30
ประเด็นการนิเทศ ติดตาม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3ปีงบประมาณ 2560 RB 7 ยาเสพติด RF 7.1 ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่ได้รับการบำบัดรักษา และหยุด เสพต่อเนื่อง (remission)
31
อยู่ระหว่างดำเนินการ
ตัวชี้วัด สันทราย แม่แตง สะเมิง กัลยาณิวัฒนา รวมโซนฯ 1.ร้อยละสถานพยาบาลยาเสพติด (โรงพยาบาลชุมชนขึ้นไป) ได้รับการรับรองคุณภาพสถานพยาบาลยาเสพติด (HA ยาเสพติด) (ผ่านเกณฑ์) ผ่านเกณฑ์ อยู่ระหว่างดำเนินการ ผ่านเกณฑ์ 3 แห่ง 2. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติด คงอยู่ในระบบการบำบัด ฟื้นฟู (>ร้อยละ 70) 83.33 83.84 78.26 66.00 77.85 3. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่ได้รับการบำบัดรักษา และหยุดเสพต่อเนื่อง (remission) (>ร้อยละ 90) 100.00 94.44 98.61
32
ปัญหา อุปสรรค ทิศทางในการพัฒนา - การดำเนินงานในชุมชน ยังไม่ ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน - จำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้าน ยาเสพติดมีการย้ายบ่อยและทีมสห วิชาชีพยังขาดเจ้าหน้าบางสาขา เช่น จิตแพทย์ และ พยาบาล วิชาชีพด้านยาเสพติด - ประสานเครือข่าย อสม.และ รพ.สต.ในการทำความเข้าใจและ ชี้แจงแนวทาง วิธีการดำเนินงาน - เห็นควรให้มีจิตแพทย์ และ พยาบาลวิชาชีพด้านยาเสพติด โดยการส่งไปอบรมเพิ่มเติมเพื่อ เป็นการพัฒนาศักยภาพของ ทีมสหวิชาชีพด้านยาเสพติด
33
ประเด็นการนิเทศ ติดตาม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3ปีงบประมาณ 2560 RB 8 แพทย์แผนไทย RF 8.1 ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก
34
- โรงพยาบาลชุมชน (ร้อยละ 20) 7.60 18.88 23.23 9.67 14.84
ตัวชี้วัด สันทราย แม่แตง สะเมิง กัลยาณิวัฒนา รวมโซนฯ 1. ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน (ร้อยละ 20) 22.54 33.50 21.82 20.37 24.55 - โรงพยาบาลชุมชน (ร้อยละ 20) 7.60 18.88 23.23 9.67 14.84 - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (ร้อยละ 30) 34.87 49.23 20.24 33.04 34.34
35
ปัญหา อุปสรรค ทิศทางในการพัฒนา
- เจ้าหน้าที่ รพ.สต.ขาดความเข้าใจ ในการบันทึกข้อมูล (หัตถการ) และ ความไม่มั่นใจในการจ่ายยาสมุนไพร - บุคลากรแพทย์แผนไทย/ผู้ช่วย มี ไม่เพียงพอ - งบประมาณสนับสนุน - ความพร้อมของสถานที่/วัสดุ อุปกรณ์ - ผู้รับบริการยังไม่เชื่อใจในยา สมุนไพร เมื่อเทียบกับยาแผน ปัจจุบัน รวมถึงการให้บริการเชิงรุก ในชุมชนยังไม่ครอบคลุม - ภาคีเครือข่ายให้ความสำคัญน้อย - ความเลี่ยมล้ำในการให้บริการแต่ละ ที่ - จำนวนรายการยาสมุนไพรมีไม่ ครอบคลุมโรค - จัดแบ่งโซนการทำงานในพื้นที่ สำหรับแพทย์แผนไทย เพื่อให้ เกิดความครอบคลุมมากขึ้น ภายใต้บุคลากรที่มีอย่างจำกัด - สนับสนุนบุคลากรด้าน การแพทย์แผนไทย - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การลง ข้อมูลโปรแกรมระหว่างหน่วยงาน - เพิ่มการประชาสัมพันธ์บริการ ด้านแพทย์แผนไทย - จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการ ดูแลอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น โดย ใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่น - จัดมุมสาธิตการใช้สมุนไพรใน สถานบริการ
36
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ/ครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.