ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยEmery Baker ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ระบบบริการสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 3 ปีงบประมาณ 2560
8 – 9 พฤษภาคม 2560 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
2
ตัวชี้วัดงานยาเสพติด
ร้อยละ 92 ของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด
3
Service Gap Service delivery
6M2 5F1 30F2 9F3 M1 : บริการผู้ป่วยใน (IPD) สำหรับผู้ป่วยจิตเวชและยาเสพติด (A-M1) 1 4 M2 : บริการผู้ป่วยนอกจิตเวชเด็ก (A-F3) 2 M3 : บริการคลินิกผู้ป่วยนอกยาเสพติดคุณภาพ (A-F2) Admit ที่ ward ทางกาย พิจิตร,อุทัยธานี นว.3/14 กพ.1/12 พจ.3/9 อท.4/8 ชน.0/6
4
Service Gap บริการผู้ป่วยในสำหรับผู้ป่วยจิตเวชและยาเสพติด (A-M1)
แนวคิดผู้บริหาร คือ ให้สร้างห้องแยกในหอผู้ป่วยทางกายและมีจิตแพทย์ไปตรวจ
5
Service Gap บริการคลินิกผู้ป่วยนอกยาเสพติดคุณภาพ (A-F2)
พิจิตร : ส่งประเมินครบ 6 แห่ง ปี อยู่ระหว่างรอผลการประเมิน ชัยนาท : เคยผ่านทุกโรงพยาบาล แต่ไม่ได้ประเมินใหม่ (re-acredit) ยกเว้นโรงพยาบาลสร้างใหม่ (เนินขาม และหนองมะโมง) ยังไม่ได้ส่งประเมิน อุทัยธานี : ส่งประเมิน 4 แห่ง ปี อยู่ระหว่างรอผลการประเมิน
6
Quick win ยาเสพติด 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน
ร้อยละ 100 ของสถานบริการระดับ รพ.สต. ขึ้นไป สามารถให้บริการคัดกรอง บำบัดฟื้นฟูและติดตามผู้ป่วยยาเสพติดได้ตามที่กำหนด ร้อยละ 50 ของค่ายศูนย์ขวัญฯ ค่ายวิวัฒน์ฯ ระบบต้องโทษ จัดบริการตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 80 ของค่ายศูนย์ขวัญฯ ค่ายวิวัฒน์ฯ ระบบต้องโทษ จัดบริการตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 92 ของผู้ป่วย ยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด ร้อยละ 30 ของหน่วยบริการกระทรวงสาธารณสุขมีมาตรการลดอันตราย (Harm Reduction) ร้อยละ 40 ของหน่วยบริการกระทรวงสาธารณสุขมีมาตรการลดอันตราย (Harm Reduction) ร้อยละ 50 ของหน่วยบริการกระทรวงสาธารณสุขมีมาตรการลดอันตราย (Harm Reduction)
7
ผลการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนดร้อยละ 92 จำนวนผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา (A) จำนวนผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้ารับการบำบัดและได้รับการจำหน่ายตามเกณฑ์ที่กำหนด (B)
8
ผลการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนดร้อยละ 92 จังหวัดนครสวรรค์ (36/37)x = 97.3 จังหวัดพิจิตร (23/39)x = จังหวัดอุทัยธานี (33/33)x = จังหวัดกำแพงเพชร (70/70)x = จังหวัดชัยนาท (24/26)x = ภาพรวมเขต ทำได้ 90.73
9
ผลการปฏิบัติงาน ค่ายศูนย์ขวัญแผ่นดินแนวใหม่ (จังหวัดนครสวรรค์)
รูปแบบการดำเนินงาน พหุพาคี - หลายหน่วยงาน มหาดไทย สาธารณสุข ทหาร ตำรวจ มีรูปแบบเฉพาะ ระยะเวลา วัน - ดูแล บำบัดรักษา ฟื้นฟู ฝึกอาชีพ -ทุกหน่วยงานอยู่ร่วมกัน 12 วัน
10
ผลการปฏิบัติงาน ผลการดำเนินงาน ปี 2558 = 6 ค่าย = 971 คน
ปี 2559 = 7 ค่าย = 1274 คน ปี 2560 = 9 ค่าย ทำแล้ว 4 ค่าย จำนวนกว่า 400 คน มีการอบรม บสต. ระบบใหม่ ครบทั้งเขต และจังหวัดนครสวรรค์ : อบรม บสต. ระบบใหม่ ครบถึงระดับ รพ.สต. : อบรม Matrix, MET ครบทุกโรงพยาบาล : อบรม BA, BI ถึงระดับ รพ.สต.
11
ปัญหา และ โอกาสพัฒนา สถานการณ์ข้อมูลเชิงคุณภาพ การแพร่ระบาดของปัญหายาเสพติด ยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องในทุกพื้นที่ โดยมีการใช้ยาในทางที่ผิดเพิ่มมากขึ้น เช่น โปร ลีน tramadol เพิ่มขึ้นในพื้นที่ ในกลุ่มนักเรียน นักศึกษา การบำบัดรักษาในระบบสมัครใจ แม้ว่าจะอยู่ในลำดับแรกของการเข้ารับการบำบัด แต่จำนวนของผู้เข้ารับบำบัดยังคงมีจำนวนไม่มาก กลุ่มเป้าหมายโดยเฉพาะเยาวชน ครอบครัว และชุมชนยังขาดความตระหนักในปัญหายาเสพติด
12
ปัญหา และ โอกาสพัฒนา ยังมีผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดรายใหม่ และส่วนใหญ่ไม่สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาฟื้นฟู สถานบำบัดยาเสพติดทุกระบบ มาตรฐานการบำบัดยังไม่เป็นเป็นแนวทางเดียวกัน การบันทึกระบบข้อมูลการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด (บสต.)โดยเฉพาะการส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานยังไม่ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน
13
ปัญหา และ โอกาสพัฒนา สถานการณ์การระบาดเกิดขึ้นในนักเรียน และนักศึกษามากขึ้น กำหนดให้การป้องกันควบคุมไม่ให้เกิดผู้เสพรายใหม่เป็นนโยบายสำคัญ มากกว่าการบำบัดรักษา กำหนดให้ผู้บำบัดในระบบสมัครใจ ต้องมารับการบำบัดและติดตามให้ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด ควรให้มีการปรับหมวดงบประมาณข้ามหมวดได้ตามความเหมาะสม และสภาพปัญหาระหว่างผู้ดูแลระบบของแต่ละหน่วยงานเพื่อบริหารจัดการข้อมูลให้เป็นปัจจุบันของพื้นที่ ควรประสานงานระหว่างผู้ดูแลระบบของแต่ละหน่วยงานเพื่อบริหารจัดการข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
14
ปัญหา และ โอกาสพัฒนา ความสามารถในการจัดการคุณภาพของค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ขาดแคลนกำลังคนในการปฏิบัติงาน โครงสร้างการปฏิบัติงานยังไม่ชัดเจน
15
ประเด็นการประชุมกลุ่มพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือด้านบริการและวิชาการ
ระหว่างกรมการแพทย์กับเขตสุขภาพที่ 3 สาขายาเสพติด ปีงบประมาณ 2560 สิ่งที่ต้องการ ร้อยละ 92 ของผู้ป่วยยาเสพติด ที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่าย จากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด GAP Analysis Service delivery : คุณภาพของการบริการยาเสพติด Health workforce : ขาดแคลนสหวิชาชีพหลายสาขา Leadership and Governance : - การส่งเสริมป้องกันปัญหายาเสพติดในทุกกลุ่มวัย - อำนาจในการประสานงานและการปรับเปลี่ยนคุณภาพของค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Planning พัฒนาคุณภาพการบริการยาเสพติดในสถานบริการ (เขตสุขภาพ) กำหนดโครงสร้างการปฏิบัติงานในงาน/กลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติด (สำนักงานปลัดกระทรวงฯ) สนับสนุนการเพิ่มอัตรากำลังคน และความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน (สำนักงานปลัดกระทรวงฯ) Situation Analysis การแพร่ระบาดของปัญหายาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ประชาชนขาดความตระหนักในปัญหายาเสพติด ผู้เสพส่วนใหญ่ไม่สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษา มาตรฐานการบำบัดยังไม่เป็นเป็นแนวทางเดียวกัน (HA ยาเสพติด) การบันทึก บสต. ยังไม่ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน ความสามารถในการจัดการคุณภาพของค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โครงสร้างการปฏิบัติงานยังไม่ชัดเจน ขาดแคลนกำลังคนในการปฏิบัติงาน
16
THANK YOU
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.