งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การศึกษาแบบภาพตัดขวาง Cross-sectional study

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การศึกษาแบบภาพตัดขวาง Cross-sectional study"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การศึกษาแบบภาพตัดขวาง Cross-sectional study
/Prevalence studies

2 นิยาม เป็นรูปแบบการศึกษา ที่แสดงให้เห็นสภาพปัญหาในขณะนั้นและเป็นการสะท้อนสภาพในช่วงเวลาที่ทำการศึกษา แต่ไม่สามารถทราบว่าตัวแปรใดเป็นสาเหตุ หรือเป็นผลและไม่ทราบว่า exposure หรือ outcome สิ่งใดเกิดขึ้นก่อนหรือหลัง

3 ความสำคัญ 1. ความผิดปกติที่เกิดขึ้น 2. วิธีการรักษาสุขภาพ
การศึกษาภาคตัดขวาง เป็นการศึกษาเชิงสำรวจในกลุ่มคน หรือประชากร ตามสภาวการณ์ที่เป็นจริง ในระยะเวลาที่กำหนด การสำรวจดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบ 1. ความผิดปกติที่เกิดขึ้น 2. วิธีการรักษาสุขภาพ 3. สภาพของสุขภาพที่ชี้บ่งชี้ถึงสุขภาพ 4. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วย และปัญหาสุขภาพ

4 คุณสมบัติเฉพาะของการศึกษาภาคตัดขวาง
1.exposure และ outcome จะถูกวัดพร้อมๆกัน 2. ข้อมูลที่ได้เกิดจากการวัดตัวอย่างที่ศึกษาเพียงครั้งเดียวในช่วงเวลาสั้นๆ (snapshot) 3. การศึกษาเป็นการสำรวจเป็นส่วนใหญ่ จึงไม่สามารถสรุปความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล ระหว่าง exposure และ outcome ได้

5 ประโยชน์ของการศึกษาภาคตัดขวาง
1.ส่งเสริมสุขภาพโดยเฉพาะกลุ่มที่มีปัญหาสุขภาพ รวมถึงประชากรที่สนใจ 2. การดูแลทางคลินิกสำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย 3. ได้รับความรู้ใหม่ เพื่อนำไปขยายผลสู่การศึกษาค้นคว้าต่อไป

6 รูปแบบการศึกษาภาคตัดขวาง
1.การศึกษาภาคตัดขวางเชิงพรรณนา 2. การศึกษาภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์

7 แผนภูมิการศึกษาภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์
Reference population Sampling / No sampling Measure Exposure and Outcome at the same time Exposure outcome Exposure no outcome No Exposure outcome No Exposure No outcome

8 วิธีการศึกษา 1.กลุ่มประชากรเป้าหมาย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง
1.กลุ่มประชากรเป้าหมาย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง 1.1 sample random sampling 1.2 systematic sampling 1.3 stratified sampling 1.4 cluster random sampling 2.วิธีการเก็บข้อมูล 1. การตรวจ

9 วิธีการศึกษา 2.วิธีการเก็บข้อมูล
2.1 การตรวจร่างกาย การตรวจพิเศษเฉพาะทาง การใช้ห้องปฏิบัติการ รวมทั้งการเฝ้าสังเกตอาการ 2.2 การสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม 2.3 บันทึกรายงานต่างๆ เช่น เวชระเบียน บันทึกการตรวจสุขภาพ รายงานสถิติต่างๆ

10 การเก็บข้อมูล 1.การวัด exposure
1.1 วัดจากแบบสอบถาม บันทึกรายงาน ผลจากห้องปฏิบัติการ การตรวจร่างกาย การตรวจพิเศษ เช่น ☻การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่ กับความชุกของเกิดโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง จะวัดการสูบบุหรี่ จากการใช้แบบสอบถาม ☻การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง uric acid กับอาการข้ออักเสบ (arthritic disorders) จะวัด uric acid จากการทดสอบทางห้องปฏิบัติการ

11 การเก็บข้อมูล 2.การวัด outcome ☻แบบสอบถาม ☻ ตรวจร่างกาย ☻ การตรวจพิเศษ
3. สถิติที่ใช้ ได้แก่ mean, S.D., median, percentile, quartile, prevalence, proportion, และ ratio

12 การศึกษาภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์
การวัดความสัมพันธ์ มี 2 รูปแบบ 1.พิจารณาจากปัจจัยที่ได้รับ 2.พิจารณาจากสถานะของตัวอย่าง

13 ความสัมพันธ์ระหว่าง ขาดการออกกำลังกาย กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจในกลุ่มชายเจ้าของฟาร์ม อายุระหว่าง 40-74ปี การศึกษาภาพตัดขวาง เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการขาดออกกำลังกายกับโรคหลอดเลือดหัวใจในกลุ่มเจ้าของฟาร์ม ขาดการออกกำลังกาย CHD+ CHD- รวม ใช่ 14(a) 75(c) 89(a + c ) ไม่ใช่ 3(b) 87(d) 90(b+d) 17(a + b) 162(c + d) 179 (n )

14 การศึกษาภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์
สถิติที่ใช้ 1.อัตราความชุกของโรคระหว่างกลุ่มexposed กับ unexposed คือ prevalence ratio= PR) ความชุก(prevalence)ที่จะเกิด CHD ในกลุ่มที่มี exercise inactive คำนวณจากสูตร prevalence(exposed) = ผู้ที่ได้รับปัจจัยและผู้ป่วย ผู้ที่ได้รับปัจจัยทั้งหมด = a /a+c

15 ตัวอย่างการวิเคราะห์
Measures of association and impact (study of population). Fictional data on headaches and exposure to fumes. fumes headaches No headache total Present absent 10 50 (a) (b) 90 850 (c) (d) 100 900 (a+c) (b+d) 60 (a+b) 940 (c+d) 1,000 (n)

16 การศึกษาภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์
1.วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของอัตราความชุกและอุบัติการณ์ (prevalence rate= PR) prevalence(exposure) = a/(a+c) prevalence(unexposure) = b / (b + d ) prevalence rate(PR) = a/(a+c) b / (b + d )

17 ความสัมพันธ์ของอัตราความชุกและอุบัติการณ์
prevalence rate(PR) = a/(a+c) b / (b + d ) =10/(100) 50 / (900 ) = 1.8 แปลผล : กลุ่ม exposure จะมีความชุกของการเป็นโรค 1.8 เท่าของกลุ่มที่ไม่ exposure

18 การแปลความหมาย สมมติฐาน:
การได้รับ fume ไม่มีความสัมพันธ์การเกิดอาการปวดศรีษะ ถ้า PR=1 หมายถึง ความชุกของกลุ่มได้รับ fume และไม่ได้รับ fume มีการเกิดอาการปวดศรีษะเท่ากัน นั่นคือ การได้รับ fume ไม่เกี่ยวข้องกับการเกิดอาการปวดศรีษะ ถ้า PR> 1 หมายถึง ความชุกของกลุ่มได้รับ fume มีมากกว่ากลุ่มไม่ได้รับ fume ถือว่าเป็น hazardous exposure ถ้า PR< 1 หมายถึง ความชุกของกลุ่มได้รับ fume มีน้อยว่ากลุ่มไม่ได้รับ fume ถือว่าเป็น beneficial exposure

19 ช่วงแห่งความเชื่อมั่น (confidence interval)
สูตรคำนวณ 95% CI of PR =(PR)exp(±1.96 𝑉𝐴𝑅 𝐼𝑛𝑃𝑅 ) เมื่อ VAR (InPR) = 1/a – 1/(a+c)+1/b – 1/(b+d) InPR =Natural logarithm transformation of prevalence ratio exp (InPR) = PR exp = exponential transformation เป็นส่วนกลับของ Natural logarithm

20 ช่วงแห่งความเชื่อมั่น (confidence interval)
VAR (InPR) = ค่าประมาณความแปรปรวนของ natural logarithm ของ prevalence ratio (PR) การแปลผลค่า 95% CI ถ้า ค่า PR เบ้ขวา ( 0 ถึง 1 เป็น positive skewness ถือว่าเป็น beneficial effect) ถ้า ค่า PR อยู่ในช่วง 1 ถึง infinity เป็น hazardous effect ถ้าในช่วงความเชื่อมั่นไม่มีค่า 1 อยู่ด้วย แสดงว่าไม่มีความสัมพันธ์กัน และยอมรับ null hypothesis ที่ตั้งขึ้นว่า exposure และ outcome ไม่มีความสัมพันธ์กัน

21 ถ้าค่า 95% CI ไม่มีค่า 1 อยู่ด้วยแสดงว่า มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และปฏิเสธ null hypothesis ที่ตั้งขึ้น exp (InPR) = 1/14 – 1/(89)+1/3-1/(90) = 0.382 95% CI of PR = (4.72) exp (± ) Lower bound = (4.72) exp ( )= 1.40 upper bound = (4.72) exp ( )= 15.86 สรุปผล เนื่องจากค่า 95% CI ไม่มีค่า 1 อยู่ด้วยแสดงว่า การขาด


ดาวน์โหลด ppt การศึกษาแบบภาพตัดขวาง Cross-sectional study

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google