ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
TQM CRB R2 Team ชัยพฤกษ์ รัตนาธิเบศร์-วงแหวน
2
วิธีการปูกระเบื้องพื้น
TEAM CRB R2 ชื่อทีม หัวข้อโครงการ โครงการ ที่ปรึกษา กลุ่ม สมาชิก Company Tel CRB R2 วิธีการปูกระเบื้องพื้น CRB คุณไพโรจน์ วัลมาลี G-6 นายสุเทพ มีอักโข L&H ไม่ให้ร่อน 100% G-6 นายวิชาญ ขันมี นายอัครวัฒน์ พูลทรัพย์ น.ส.เกสร บุญมี SBK นายชาญวุฒิ กิจพจน์ HP นายเหลี่ยม
3
TEAM CRB R2
4
Organize Chart L&H SBK HP ที่ปรึกษา
5
วิธีการปูกระเบื้องพื้น ไม่ร่อน 100%
วิธีการปูกระเบื้องพื้น ไม่ร่อน 100% สำรวจสภาพปัจจุบัน ปัจจุบันพบว่า มีข้อบกพร่องเกิดจากการปูกระเบื้องแล้วมีโพรงอากาศ ส่งผลให้กระเบื้องร่อนได้ ณ ตอนที่ตรวจหมวด 6 ทุกหลังคิดเป็น 15 ถึง 20 % ของแต่ละหลังและแต่ละชุดช่างจะไม่เท่ากันทำให้เกิดความเสียหายจากการแก้ไขงานตามมาอีกมากมาย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ในระยะสั้นเพื่อลดปัญหาเรื่องการแก้ไขและซ่อมงานต่อเนื่องที่ตามมา ให้รู้จักการทำงานเป็นทีมและมีการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ ช่วยลดปัญหาระยะยาวเมื่อส่งมอบบ้านให้ลูกค้าจึงทำให้เกิดความเชื่อมั่นในสินค้าด้วยคุณภาพให้เป็นที่ยอมรับ
6
สำรวจสภาพ(ข้อมูล)ก่อนการแก้ไขปัญหา/
ปรับปรุงบ้าน โดยเฉลี่ยต่อหลัง ข้อมูลจากบริษัท SBK ข้อมูลจากบริษัท Home Point เดือน ก่อนส่งตรวจหมวด 6 รวม มี.ค.- 55 3 - 5 8 เม.ย.- 55 2 6 พ.ค.- 55 4 มิ.ย.- 55 11 ก.ค.- 55 7 9 ส.ค.- 55 รวมปี 55 17 35 52
7
แผนผังบ้านที่กระเบื้องพื้นร่อน ในโครงการ CRB (ก่อนการแก้ไขปัญหา)
8
กราฟแสดงผลกระเบื้องพื้นร่อน ในโครงการ CRB (ก่อนการแก้ไขปัญหา)
จำนวน(หลัง) ก่อนการแก้ไข กระเบื้องพื้นร่อนเฉลี่ย 80%
9
การทำงานของช่างก่อนการปรับปรุง
ไม่ทำความสะอาดพื้นผิวก่อนการปูกระเบื้อง นำกระเบื้องไปแช่น้ำก่อนการปูกระเบื้อง ( เฉพาะกระเบื้อง Porcelain เท่านั้น ) อัตราส่วนผสมปูนทราย ปูนกาวไม่ถูกต้อง ใส่ปูนไม่เต็มพื้นที่และ เกิดฟองอากาศ ใช้ปูนที่หมดอายุการใช้งาน ในการปู
10
ผลกระทบจากการทำงาน “ กระเบื้องร่อน ”
ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซม 30,000 บาท/หลัง ในกรณีกระเบื้องร่อนต่อเนื่องทั้งหลัง ใช้ระยะเวลาในการทำงานยาวนาน กรณีกระเบื้องร่อนเป็นจุด(แผ่น) เสียค่าใช้จ่ายด้านแรงงานสูงในการแก้ไข เกิดความล่าช้าในการส่งมอบ
11
กราฟแสดงค่าใช้จ่ายในการซ่อมกระเบื้อง
ราคาค่าซ่อมเฉลี่ย 1,630 บาท/หลัง
12
วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา/ ปรับปรุงแผนภูมิก้างปลา
วิธีการทำงานไม่ถูกต้อง บุคลากรขาดความพร้อม ใช้ความเคยชินในการทำงาน ไม่มีวิธีการ ทำงานที่เป็น รูปธรรม (ต่างคนต่างทำ) การแก้ไขงาน ใช้วิธีการที่ ไม่ถูกต้อง ขาดความรู้ความชำนาญ ขาดความเอาใจใส่ในการทำงาน ขาดการสอนงาน ขาดการตรวจสอบ อย่างจริงจัง ขาดการ ประสานงาน เปลี่ยนชุดช่างบ่อย วิธีการปูกระเบื้องพื้น ไม่ให้ร่อน 100% การใช้วัสดุไม่มีคุณภาพ ใช้เครื่องมือผิดประเภท อุปกรณ์ไม่ได้มาตรฐาน ใช้วัสดุผิดประเภท เครื่องมือและวัสดุ ไม่ได้มาตรฐาน
13
กำหนดเป้าหมาย แก้ปัญหากระเบื้องพื้นร่อนกับผู้รับเหมาทุกรายให้ได้ 100%
ภายในระยะเวลา 6 เดือน บ้านที่ได้รับการตรวจหมวด 6 ทุกหลัง ใต้กระเบื้องพื้นต้องไม่มีโพรงอากาศและการร่อน สามารถพัฒนาวิธีการปูกระเบื้องพื้นให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เป็นรูปธรรม อย่างชัดเจนกับช่างในโครงการได้
14
กำหนดแผนปฏิบัติงาน ระยะเวลา/เดือน แผน การปฏิบัติ ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
1 ก.ย. 2 ต.ค. 3 พ.ย. 4 ธ.ค. 5 ม.ค. 6 ก.พ. 7 มี.ค. 8 เม.ย. วางแผน(Plan) ลงมือแก้ไขปัญหา(Do) ตรวจสอบผล(Check) แก้ไขปรับปรุง(Action)และตั้งมาตรฐานการทำงาน
15
ตารางการนัดหมายประชุม
CRB R2 Team
16
ตารางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง
สาเหตุ วิธีการแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง ผู้รับ ผิดชอบ วัน/เดือน/ปี ผล เริ่มต้น สิ้นสุด วิธีการทำงาน ไม่ถูกต้อง ไม่มีวิธีการ ทำงานที่เป็น รูปธรรม (ต่างคนต่างทำ) จัดการอบรมขั้นตอนในการทำงานและแบบเป็น Shop แต่ละแบบบ้าน Suthep 1 ก.ย.55 29 ก.พ.56 การแก้ไขงาน ใช้วิธีการที่ จัดการอบรมขั้นตอนในการทำงาน Team
17
ตารางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง
สาเหตุ วิธีการแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง ผู้รับ ผิดชอบ วัน/เดือน/ปี ผล เริ่มต้น สิ้นสุด บุคลากรขาดความพร้อม ขาดความรู้ความชำนาญ จัดการอบรมขั้นตอนในการทำงาน Wichan 1 ก.ย.55 29 ก.พ.56 ขาดความเอาใจใส่ในการทำงาน ชี้ให้เห็นถึงผลที่จะตามมาของงานที่ไม่ได้คุณภาพ Team เปลี่ยนชุดช่างบ่อย สำหรับชุดช่างที่เข้ามาใหม่
18
ตารางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง
สาเหตุ วิธีการแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง ผู้รับ ผิดชอบ วัน/เดือน/ปี ผล เริ่มต้น สิ้นสุด เครื่องมือและวัสดุไม่ได้มาตราฐาน อุปกรณ์ไม่ได้มาตราฐาน ตรวจสอบอุปกรณ์และแจ้งฝ่ายก่อสร้างเพื่อเปลี่ยน Suthep 1 ก.ย.55 29 ก.พ.56 ใช้เครื่องมือผิดประเภท จัดการอบรมวิธีการในการทำงาน Team ใช้วัสดุผิดประเภท
19
กำหนดกรอบบ้านที่เริ่มปูกระเบื้อง
แบบ “ ไม่ร่อน 100% ” ในโครงการ CRB
20
แผนการติดตามผล ตรวจสอบงานก่อนส่งงานหมวด 6 อย่างต่อเนื่องกับบ้านที่เริ่มจัดทำโครงการ ถึงปัญหาต่าง และสรุปผลทุกเดือน
21
สรุปขั้นตอน PDCA ในการแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง จากแผนภูมิก้างปลา
วางกรอบการทำงานตามที่ได้ปรับปรุงแก้ไขแล้ว P D A C
22
ขั้นตอนการทำงาน TQM ของโครงการ ทำการประชาสัมพันธ์ในโครงการรวมถึงช่าง
- การทำบอร์ดประชาสัมพันธ์ การทำงานที่ถูกต้อง - การเข้าร่วมประชุม ปรึกษาหารือ ทำข้อตกลงในการทำงาน ทำการอบรมช่างที่เข้าโครงการและใช้ชุดช่างที่ผ่านการอบรมแล้วเท่านั้นปูกระเบื้อง ถ้ามีช่างเข้ามาใหม่ต้องทำการอบรมใหม่อยู่ตลอดเวลาและทำประวัติไว้ จัดทำคู่มือในการปูกระเบื้องอย่างถูกต้อง โดยละเอียด - โดยต้องชัดเจน และเข้าใจได้ง่าย - ผู้ที่สนใจสามารถนำไปใช้ได้
23
ขั้นตอนการทำงาน TQM ของโครงการ
ให้ช่างดำเนินการปูกระเบื้องตามลำดับขั้นตอน - การเตรียมงานก่อนการปูกระเบื้อง - การทำงานระหว่างปูกระเบื้อง - การตรวจสอบการทำงานหลังปูกระเบื้อง
24
และการประสานงานของ Team
การประชาสัมพันธ์ และการประสานงานของ Team
25
ทำประวัติช่างที่ผ่านการอบรมเป็นข้อมูลกรณีเปลี่ยนชุดช่างใหม่
26
จัดอบรมทีมช่างที่หน้างานจริงก่อนเข้า
ปูกระเบื้องพื้นบ้านกลุ่มเป้าหมาย
27
จัดอบรมทีมช่างที่หน้างานจริงก่อนเข้า
ปูกระเบื้องพื้นบ้านกลุ่มเป้าหมาย - ขั้นตอนการผสมปูน - การดูแบบ แนว เส้นครู - การตีฉาก ตรวจสอบ - การขึงเอ็น ตามแนว ระดับ - การเตรียมงานก่อนปูกระเบื้อง
28
จัดอบรมทีมช่างที่หน้างานจริงก่อนเข้า
ปูกระเบื้องพื้นบ้านกลุ่มเป้าหมาย - การปาดปูนกาว - การตรวจสอบกระเบื้อง - การเช็คขนาด แนว - การเช็คฟองอากาศ ช่องว่าง - การทำงานระหว่างปูกระเบื้อง
29
จัดอบรมทีมช่างที่หน้างานจริงก่อนเข้า
ปูกระเบื้องพื้นบ้านกลุ่มเป้าหมาย - เป็นข้อตกลงในการตรวจสอบเฉพาะโครงการ CRB - การตรวจสอบโรยหิน - การตรวจสอบการทำงานหลังปูกระเบื้อง
30
จัดทำคู่มือการติดตั้งให้ชัดเจนและถูกต้อง
31
จัดทำคู่มือการติดตั้งให้ชัดเจนและถูกต้อง
32
จัดทำคู่มือการติดตั้งให้ชัดเจนและถูกต้อง
33
จัดทำคู่มือการติดตั้งให้ชัดเจนและถูกต้อง
คู่การทำงานปูกระเบื้องหากมีการเปลี่ยนแปลง อันเนื่องมาจากผลิตภัณฑ์หรือวิธีการทำงาน จะทำการอัพเดตให้ทราบในโอกาสต่อไป
34
สรุปขั้นตอนการดำเนินโครงการ TQM
สำรวจสภาพปัญหา/ข้อมูลก่อนแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง นำผลการสำรวจไปจัดลำดับความสำคัญ(ในที่นี้ใช้หัวข้อที่ทุกๆคนสนใจร่วมกัน) จัดทำ ( PDCA ) สำรวจสภาพปัญหาหลังทำ นำผลการสำรวจไปทำการแก้ไข ทำตารางเปรียบเทียบกราฟพาเรโตก่อนทำและหลังทำ พัฒนาวิธีการทำงานใหม่
35
การติดตามผลหลังแก้ไขปัญหา การปูกระเบื้องพื้นในโครงการ CRB
36
ผังแสดงผลการแก้ไขปัญหา การปูกระเบื้องพื้นในโครงการ CRB
37
กราฟแสดงผลกระเบื้องพื้นร่อน ในโครงการ CRB (หลังการแก้ไขปัญหา)
จำนวน(หลัง) หลังการแก้ไข กระเบื้องพื้นร่อน 0%
38
กราฟแสดงการเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายใน
การซ่อมแซมกับการเพิ่มตัวเลือก ปูนกาว ราคาค่าซ่อมเฉลี่ย 1,630 บาท/หลัง : ราคาค่าปูนกาว 600 บาท/หลัง
39
สรุปขั้นตอนที่ได้จากการทดลอง ปูกระเบื้องพื้นแบบ “ ไม่ร่อน 100% ”
ปูกระเบื้องพื้นแบบ “ ไม่ร่อน 100% ” จากการทดลองสรุปขั้นตอนได้ดังนี้ ขั้นตอนการเตรียมงาน ทำความสะอาดกระเบื้อง,พื้น และหาแนวฉากรวมทั้งจุดเริ่มปู พร้อมผสมปูนทราย , ปูนกาว ตามอัตราส่วนผสมอย่างละเอียดและถูกต้อง ขั้นตอนการปูแบบ “ ไม่ร่อน 100%” ใช้ปูนกาวปาดพื้นผิวก่อนลงปูนทราย และปาดปูนกาวใต้แผ่นกระเบื้องพื้น ก่อนปู เมื่อปูปรับระดับในครั้งที่ 1 เรียบร้อยแล้ว ให้เปิดกระเบื้องพื้นขึ้นเพื่อตรวจสอบฟองอากาศ และในครั้งที่ 2 จำเป็นต้องเติมปูนทราย เพื่อไม่ให้มีฟองอากาศหลงเหลืออยู่ใต้กระเบื้อง
40
สรุปขั้นตอนที่ได้จากการทดลอง ปูกระเบื้องพื้นแบบ “ ไม่ร่อน 100% ”
ปูกระเบื้องพื้นแบบ “ ไม่ร่อน 100% ” จากการทดลองสรุปขั้นตอนได้ดังนี้ ขั้นตอนสุดท้าย การตรวจสอบหลังปูกระเบื้องเสร็จ ด้วยการโรยกรวดแล้วกวาดไปทั่วพื้นที่ ก่อนการส่งตรวจหมวด 6
41
สรุปผลการทดลองปูกระเบื้องพื้น
แบบ “ ไม่ร่อน 100% ” จากการทดลองสามารถสรุปผลได้ดังนี้ แก้ปัญหาโพรงอากาศใต้กระเบื้องพื้นได้ 100 % แก้ปัญหากระเบื้องพื้นร่อนได้ 100 % สามารถลดต้นทุนในการซ่อมแซมกระเบื้องพื้น ได้ด้วยการใช้ปูนกาว และการเพิ่มขั้นตอนในการปูกระเบื้องพื้น สามารถนำเอาความรู้ที่ได้ มาเป็นแนวทางในการพัฒนาวิธีการปูกระเบื้องพื้นให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สามารถนำเอาหลักการที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
42
ขอบคุณทุกท่านที่ติดตามชม
จบการนำเสนอ TQM CRB R2 Team
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.