ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยΠύθιος Διδασκάλου ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
หน่วยวิจัยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โครงการจัดตั้งสถานวิจัยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (Natural Products Research Center) หน่วยวิจัยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2
ข้อมูลทั่วไป ชื่อสถานวิจัย: สถานวิจัยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (Natural Products Research Center) ชื่อหัวหน้าสถานวิจัย: รศ.ดร. ศุภยางค์ วรวุฒิคุณชัย ภาควิชาจุลชีววิทยา ชื่อบุคลากรในสถานวิจัย: รศ.ดร. นงพร โตวัฒนะ ภาควิชาชีวเคมี รศ.ดร. นงเยาว์ สว่างเจริญ ภาควิชาจุลชีววิทยา ผศ.ดร. เบญจมาศ จันทร์ฉวี ภาควิชาเภสัชวิทยา รศ.ดร. วิลาวัลย์ มหาบุษราคัม ภาควิชาเคมี รศ.ดร. เสาวลักษณ์ พงษ์ไพจิตร ภาควิชาจุลชีววิทยา ผศ.ดร. อุราพร วงศ์วัชรานนท์ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ ผศ.ดร. เอกสิทธิ์ กุมารสิทธิ์ ภาควิชาสรีรวิทยา คณะวิทยาศาสตร์
3
หลักการและเหตุผล เป็นการรวมกลุ่มนักวิจัยสหสาขาของคณะวิทยาศาสตร์เข้ามาอยู่ในหน่วยวิจัยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ เพื่อร่วมกันศึกษาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ โดยมีผลงานทางวิชาการที่มีการค้นพบองค์ความรู้ใหม่และได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ และนักวิจัยในกลุ่มได้รับทุนสนับสนุนทั้งภายในและภายนอกให้ดำเนินการวิจัยด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง และมีความพร้อมของห้องปฏิบัติการและครุภัณฑ์ที่จะใช้ทำการวิจัย เพื่อเสริมศักยภาพของบุคลากรให้สนองต่อเป้าประสงค์ข้อที่ 1 ของมหาวิทยาลัยที่มุ่งจะเป็นมหาวิทยาลัยวิจัย กล่าวคือ เพื่อเสริมสร้างคุณค่างานวิจัยให้เป็นแก่นความรู้เฉพาะทางที่เป็นเลิศ และพัฒนาให้เกิดรูปธรรมของนวัตกรรมสำหรับขับเคลื่อนอนาคตและก้าวสู่มหาวิทยาลัยชั้นนำ และเป้าประสงค์ข้อที่ 2 ได้แก่ เพื่อเสาะหาวิชชาอันก่อเกิดเป็นทุนวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนสู่มหาวิทยาลัยวิจัย สามารถถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีสู่ชุมชน และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในระดับนานาชาติ รวมทั้งสามารถผลิตบัณฑิตได้มากขึ้น
4
วัตถุประสงค์ สร้างองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นพื้นฐานต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติโดยผ่านกระบวนการบัณฑิตศึกษา พัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่มีศักยภาพและมีความปลอดภัย เป็นผลิตภัณฑ์สู่ชุมชน จัดทำฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากผลงานวิจัยของสมาชิกและเชื่อมโยง กับฐานข้อมูลสากล จัดฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพร แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและความร่วมมือทางด้านวิชาการและวิทยาศาสตร์ กับประเทศภาคีอื่น
5
ทิศทางการวิจัยในช่วง 5 ปี
เป้าหมายหลักของสถานวิจัยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ เพื่อที่จะดำเนินการวิจัยค้นหาองค์ความรู้ใหม่และเสริมยุทธศาสตร์ด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติของประเทศไทย โดยการศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของผลิตภัณฑ์ธรรมชาติเพื่อยืนยันหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ โดยการแยกสารบริสุทธิ์และหาสูตรโครงสร้างทางเคมีของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืชและจุลินทรีย์ คัดกรองหาพืชและ จุลินทรีย์ที่มีศักยภาพเป็นแหล่งของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ เช่น ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ต้านมะเร็ง และพิษวิทยา
6
จัดฝึกอบรมและประชุมวิชาการ เครือข่ายผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
โครงสร้างและระบบบริหาร กลุ่มนักวิจัย คณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมการดำเนินการ ผู้อำนวยการ จัดฝึกอบรมและประชุมวิชาการ แหล่งทุนวิจัย เครือข่ายผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ นักวิจัยของสถานวิจัย ฯ ด้านองค์ประกอบทางเคมี รศ.ดร. วิลาวัลย์ มหาบุษราคัม ด้านฤทธิ์ทางชีวภาพ รศ.ดร. นงพร โตวัฒนะ รศ.ดร. นงเยาว์ สว่างเจริญ รศ.ดร. ศุภยางค์ วรวุฒิคุณชัย รศ.ดร. เสาวลักษณ์ พงษ์ไพจิตร ผศ.ดร. อุราพร วงศ์วัชรานนท์ ด้านพิษวิทยา ผศ.ดร. เบญจมาศ จันทร์ฉวี ผศ.ดร. เอกสิทธิ์ กุมารสิทธิ์ ด้านพัฒนาสูตรโครงสร้าง รศ.ดร. วิลาวัลย์ มหาบุษราคัม ด้านทดสอบประสิทธิภาพ ของผลิตภัณฑ์ รศ.ดร. นงพร โตวัฒนะ รศ.ดร. นงเยาว์ สว่างเจริญ ผศ.ดร. เบญจมาศ จันทร์ฉวี รศ.ดร. ศุภยางค์ วรวุฒิคุณชัย รศ.ดร. เสาวลักษณ์ พงษ์ไพจิตร ผศ.ดร. อุราพร วงศ์วัชรานนท์ ผศ.ดร. เอกสิทธิ์ กุมารสิทธิ์
7
ทุนวิจัยที่ได้รับและจำนวนนักศึกษาที่ทำวิทยานิพนธ์ด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี)
รายชื่อสมาชิก ทุนวิจัย ทุนบัณฑิตศึกษา นศ.ป. โท (กำลังศึกษา) นศ.ป. เอก (สำเร็จแล้ว) จำนวน งบประมาณ นงพร โตวัฒนะ 1. PERCH 1 ทุน 2. BUP 1 ทุน 3. RGJ 1 ทุน 4. ความเป็นเลิศภาควิชาชีวเคมี 1 ทุน 5. บัณฑิตวิทยาลัย 2 ทุน 510,000 100,000 150,000 33,400 80,000 1. RGJ 1 ทุน 1,902,000 - 1 2 นงเยาว์ สว่างเจริญ 1. บัณฑิตวิทยาลัย 2 ทุน 60,000 เบญจมาศ จันทร์ฉวี 1. งบประมาณแผ่นดิน 1 ทุน 2. บัณฑิตศึกษาสงขลานครินทร์ 1 ทุน 3. บัณฑิตวิทยาลัย 2 ทุน 703,600 75,000 วิลาวัลย์ มหาบุษราคัม 2. PERCH 3 ทุน 3. บัณฑิตวิทยาลัย 2 ทุน 400,000 280,000 52,000 3 ศุภยางค์ วรวุฒิคุณชัย 1. TRF 1 ทุน 2. T-2 NSTDA 1 ทุน 3. PSU 1 ทุน 4. RGJ 2 ทุน 5. CHE-Ph.D.-SW-RG 1 ทุน 6. บัณฑิตวิทยาลัย 3 ทุน 2,000,000 1,018,896 293,000 300,000 180,000 1. RGJ 2 ทุน 2. CHE-Ph.D.-SW-RG 1 ทุน 3,804,000 1,750,000 4 เสาวลักษณ์ พงษ์ไพจิตร 2. BRN 1 ทุน 3. BUP 1 ทุน 4. TGIST 2 ทุน 352,000 660,000 30,000 1. บัณฑิตวิทยาลัย 1 ทุน 28,000 รวม 7,927,896 7,484,000 6 8
8
แผนงานบริหารจัดการ แผนการดำเนินการระยะสั้น (1-5 ปี)
เป็นเลิศทางด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติในระดับประเทศ และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศในระดับสากล ความต้องการ จัดหาทุนวิจัยในลักษณะชุดโครงการ สร้างความเชื่อมโยงเครือข่าย ทั้งระดับชาติและนานาชาติ แนวทาง วิจัยเชิงบูรณาการ สนองความต้องการด้านวิชาการของภาครัฐ และท้องถิ่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ คาดว่าสามารถนำเบญกานี (Quercus infectoria) และกระทุ (Rhodomyrtus tomentosa) ไปพัฒนาต่อเป็นผลิตภัณฑ์ ในกลุ่มสารฆ่าเชื้อแบคที่เรีย วิธีการ 1. นักวิจัยของสถานวิจัย ฯ มีศักยภาพในการหาแหล่งทุนวิจัย 2. งานวิชาการด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ 3. การผลิตบัณฑิต ได้รับการยอมรับในความเป็นเลิศด้านวิชาการด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติของประเทศไทย สถานวิจัยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติสามารถดำเนินการได้อย่างยั่งยืนและยกระดับเป็นสถานวิจัยความเป็นเลิศด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ เป้าหมาย งานวิจัย โครงการวิจัยที่ได้รับทุน 12 เรื่อง การเสนอผลงานวิชาการ 20 เรื่อง ผลงานตีพิมพ์ 42 เรื่อง สิทธิบัตร 2 เรื่อง บัณฑิตศึกษา นศ. ปริญญาโท 13 คน นศ. ปริญญาเอก 8 คน ฐานข้อมูล ฐานข้อมูลของบุคลากรและผลงานวิจัย ดัชนีชี้วัด
9
แผนงานด้านการวิจัยในช่วง 5 ปี
ชื่อโครงการ ชื่อนักวิจัย ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5 Anti-atherosclerotic mechanisms of morellolflavone and its derivatives. รศ.ดร. นงพร โตวัฒนะ รศ.ดร. วิลาวัลย์ มหาบุษราคัม Anxiolytic effects of Thai essential oils in mice. ผศ.ดร. เอกสิทธิ์ กุมารสิทธิ์ ผศ.ดร. อุราพร วงศ์วัชรานนท์ Bioprospecting for drug leads from terrestrail and marine biodiversity sources for a variety of neglected infectious diseases. รศ.ดร. ศุภยางค์ วรวุฒิคุณชัย รศ.ดร. นงเยาว์ สว่างเจริญ รศ.ดร. เสาวลักษณ์ พงษ์ไพจิตร Chemical constituents from Eleutherine americana Merr. Chemical constituents from Garcinia schomburgkiana pierre. Chemical constituents from Rhodomyrtus tomentosa (Aiton) Hassk. Chronic toxicity study of the crude extract of Mitragyna speciosa Korth leaves. ผศ.ดร. เบญจมาศ จันทร์ฉวี The Effect of Thai medicinal plants on virulence factor expression in pathogenic bacteria. Isolation, classification, biological activities, and chemical constituents of endophytic fungi in Southern Thailand. Metabolite of fungi isolated from sea fan and their antimicrobial activity. Potential of extracts from Brucea javanica (Linn.) Merr. To use as anti-intestinal protozoa parasite. Strategies of natural products research: II. Detailed studies on Eleutherine americana Merr., Quercus infectoria G.Olivier, and Rhodomyrtus tomentosa (Aiton) Hassk.
10
เป้าหมาย ผลผลิต ตัวชี้วัด และผลการดำเนินงานของสถานวิจัย
baseline 3 ปีย้อนหลัง ปีปัจจุบัน ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5 รวม เป้าหมาย ผลที่ได้ จำนวนบัณฑิตศึกษา ปริญญาโท 13 6 2 3 ปริญญาเอก 9 11 ผลงานตีพิมพ์ ระดับชาติ 7 - 10 ระดับนานาชาติ 38 15 8 42 เงินทุนวิจัย เงินรายได้/ทุนงบประมาณ หรือแหล่งทุนภายในอื่น ๆ 2,329,000 651,000 700,000 3,500,000 แหล่งทุนภายนอก 5,598,896 1,406,666 2,000,000 2,500,000 3,000,000 13,000,000 นักวิจัยใหม่ที่เข้าร่วมโครงการ 1 การใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัย สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร การนำไปใช้ประโยชน์
11
งบประมาณที่ขอสนับสนุน
หมวดรายจ่าย ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5 ค่าจ้างผู้ช่วยวิจัย 336,000 408,000 504,000 ค่าจัดประชุมสัมมนา / เชิญวิทยากร 90,000 ค่าจัดกิจกรรมการไปเยี่ยมชม / ทำวิจัยระยะสั้น 40,000 ค่าใช้จ่ายสำหรับบริหารจัดการ 117,000 107,000 106,000 ค่าใช้จ่ายในการไปเสนอผลงานวิจัย 100,000 ค่าใช้สอย เช่น ค่าซ่อมแซมครุภัณฑ์ 130,000 65,000 ค่าวัสดุ เครื่องแก้วและสารเคมี 115,000 สำรองจ่าย 57,000 30,000 รวมงบประมาณรายปี 1,000,000
12
สัดส่วนการสนับสนุนจากทุกแหล่งทุน
คณะ/หน่วยงาน สัดส่วนการสนับสนุน มหาวิทยาลัย 25 % วิทยาเขตหาดใหญ่ คณะวิทยาศาสตร์ 50 %
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.