งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การจัดการเรียนการสอนตามแนว.Constructionism เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีตั๋วเงิน ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขางานการบัญชี นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนจากผู้เรียนที่ได้ใช้ แผนการจัดการเรียนการสอนตามแนว Constructionism 2. เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้เรียนจากการใช้ แผนจัดการเรียนการสอนตามแนว Constructionism

3 ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ เป็นนักศึกษา ที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขางานการบัญชี สาขาวิชาพณิชยการและการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ จำนวน 30 คน

4 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขางานการบัญชี สาขาวิชาพณิชยการและการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ปีการศึกษา โดยใช้วิธีการสุ่ม แบบจับฉลากเข้ากลุ่มดำเนินการวิจัย จำนวน 20 คน

5 ผลการวิเคราะห์ ตารางที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียน นักศึกษาสาขางานการบัญชี นักศึกษาคนที่ 1 - 20 คะแนนก่อนเรียน ( 100 คะแนน ) คะแนนหลังเรียน D D2 รวม 855 967 112 12,544 ค่าเฉลี่ย 42.75 58.35 5.60 SD 6.79 25.52 11.84

6 ผลการวิเคราะห์ (ต่อ) ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักศึกษาสาขางานการบัญชี คะแนน N ค่าเฉลี่ย SD df t ก่อนเรียน 20 42.75 6.79 19 4.148* หลังเรียน 58.35 25.52

7 ผลการวิเคราะห์ (ต่อ) การศึกษาหาระดับความพึงพอใจจากการใช้แผนการจัดการเรียน การสอนตามแนว Constructionism พบว่านักศึกษามีความพึงพอใจต่อการใช้แผนการจัดการเรียนการสอนตามแนว Constructionism อยู่ในระดับมากที่สุด ( .=.4.86,.S.D.=.0.10) และเมื่อแยกเป็นรายข้อพบว่า กิจกรรมในการเรียนการสอนสนุกสนาอยู่ในระดับมากที่สุด ( .=.4.97 , S.D. = 0.30) รองลงมา แบบทดสอบเรียงลำดับจากแบบฝึกง่ายไปหายาก อยู่ในระดับมากที่สุด

8 สรุปผลการวิจัย 1. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนฯ พบว่า ก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย และหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย แสดงว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ เป็นไปตามสมมติฐานข้อ 1

9 สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 2. การศึกษาหาระดับความพึงพอใจฯ พบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อแยกเป็นรายข้อพบว่า - กิจกรรมในการเรียนการสอนสนุกสนาน อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา - แบบทดสอบเรียงลำดับจากแบบฝึกง่ายไปหายาก อยู่ในระดับมากที่สุด - นักศึกษาสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเองหลังจากใช้การเรียนการสอนตามแนว Constructionism อยู่ในระดับมากที่สุด เป็นไปตามสมมติฐานข้อที่ 2

10 สรุปผลการวิจัย (ต่อ) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ฯ เมื่อทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ แสดงว่า ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ซึ่งสอดคล้องกับ วิมลวัลย์ อักษรพิมพ์ (2553, หน้า 87-88) ทำการวิจัยเรื่อง การใช้หนังสือส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านขามป้อม

11 สรุปผลการวิจัย (ต่อ) และสอดคล้องกับจิระ ดีช่วย (2554, ) ทำการศึกษา เรื่อง การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรักติวิซึมร่วมกับการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อเสริมสร้างมโนทัศน์และความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4

12 ภาพการจัดกิจกรรม

13 ภาพการจัดกิจกรรม

14 ข้อเสนอแนะ การสอนตามแนว Constructionism สามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาอื่น ๆ โดยสามารถปรับเปลี่ยน กิจกรรมเนื้อหาให้เหมาะสมกับผู้เรียน ครูผู้สอน ควรมีการเตรียมตัวให้พร้อมเพื่อไม่ให้กิจกรรมการเรียนการสอนเกิดปัญหา จัดเตรียมอุปกรณ์ในการสอน สื่อการสอนให้พร้อมทำการสอนอย่างมีขั้นตอน ครูผู้สอนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออกและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนการสอน รวมทั้งความต้องการของผู้เรียนมากที่สุด

15 ผลกระทบที่เกิดขึ้น ควรมีการศึกษาวิจัยโดยใช้เทคนิคต่าง ๆ กับการสอนแบบอื่น ๆ ที่มุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาเพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้สอนได้พิจารณาเลือกใช้วิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับนักศึกษาที่ใช้สำหรับการวัดการเรียนการสอน


ดาวน์โหลด ppt นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google