ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ระบบวรรณะ Caste System ( Varna )
อาจารย์สอง Satit UP
2
Caste System ระบบวรรณะ
3
ระบบวรรณะ Varna ( Caste system )
ประกอบด้วย 4 วรรณะตามคัมภีร์พระเวทของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู กษัตริย์ ( Kshatriya ) พราหมณ์ ( Brahmana ) ศูทร ( Sudra ) แพศย์ ( Vaishya )
4
เกิดจากหน้าอก หรือ แขน/มือ เกิดจากสะโพก หรือ ต้นขา/ตัก
พราหมณ์ ตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ์ถือว่าแต่ละวรรณะนั้นถูกสร้างมาจากแต่ละส่วนของพระพรหม เกิดจากปาก กษัตริย์ เกิดจากหน้าอก หรือ แขน/มือ แพศย์ เกิดจากสะโพก หรือ ต้นขา/ตัก ศูทร เกิดจากฝ่าเท้า
5
A ? B C D
6
อารยัน (อินโดอารยัน) ชนกลุ่มที่อพยพเข้ามาสู่อินดียภายหลัง(ชาวอารยัน/อินโดอารยัน) นั้นซึ่งได้เป็นผู้สร้าง/คิด และนำระบบวรรณะเข้ามาใช้ในสังคมอินเดียตั้งแต่สมัยแรก ๆ ที่อพยพเข้ามายังอนุทวีปอินเดียเพื่อต้องการไม่ให้มีการปะปนกันระหว่างชาติพันธุ์และทางสายเลือดระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ดั้งเดิมหรือกลุ่มชนพื้นเมืองดั้งเดิม(ชาวดารวิเดียน) โดยกำหนดให้มีระบบชนชั้นวรรณะเพื่อกีดกัน โดยผสมผสานเข้ากับความเชื่อทางศาสนาโดยจัดให้กลุ่มชาติพันธ์ตนเอง(อารยัน)นั้นอยู่ในวรรณะสูงและให้ชนพื้นเมืองดั้งเดิม(ดารวิเดียน)อยู่ในวรรณะต่ำ
7
ในการกำหนดวรรณะของคนในสังคมนั้นไม่ได้กำหนดเฉพาะ ความเป็นวรรณะเท่านั้นยังได้กำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบที่ทำ อาชีพ การแต่งกาย และในด้านอื่น ๆ ไว้ด้วย ซึ่งครอบคลุมวิธีชีวิตความเป็นอยู่และสถานะทางสังคมไว้ด้วยอย่างชัดเจนจนเป็นบรรทัดฐานของคนในสังคมที่จะต้องปฏิบัติตามวรรณะอย่างเคร่งครัดเพื่อให้สอดคล้องกับความเชื่อทางศาสนา
8
ระบบวรรณะ Varna ( Caste system ) วรรณะทั้ง 4 ในการกำหนดวรรณะของคนในสังคมนั้นไม่ได้กำหนดเฉพาะ ความเป็นวรรณะเท่านั้นยังได้กำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบที่ทำ อาชีพ การแต่งกาย และในด้านอื่น ๆ ไว้ด้วย
9
ระบบวรรณะ Varna ( Caste system ) วรรณะทั้ง 4 ในการกำหนดวรรณะของคนในสังคมนั้นไม่ได้กำหนดเฉพาะ ความเป็นวรรณะเท่านั้นยังได้กำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบที่ทำ อาชีพ การแต่งกาย และในด้านอื่น ๆ ไว้ด้วย
11
วรรณะทั้ง 4 ตามคัมภีร์พระเวท กลุ่มนอกวรรณะ ( Out of Caste )
12
ในคัมภีร์ต่าง ๆ ของศาสนาพราหมณ์ฮินดูได้สอนไว้ว่า ผู้ที่ถือกำเนิดมาเป็นมนุษย์ทุกคนควรทำตนให้เป็นไปตามวรรณะ ที่ได้กำหนดไว้แล้ว ตอนหนึ่งของพระเวทบ่งไว้ว่า วรรณะย่อมมีติดมากับทุก ๆ คนตั้งแต่เกิด
13
กฎระเบียบที่กล่าวไว้ในคัมภีร์พระธรรมศาสตร์ของศาสนาฮินดู ที่เกี่ยวข้องกับวรรณะ เช่น
ระเบียบปฏิบัติเรื่องวรรณะ เช่น กฎเรื่องการแต่งงาน (เช่น การห้ามแต่งงานข้ามวรรณะ) กฎเรื่องอาหารการกิน (ใครทำอาหารให้ใครทานได้) กฎเรื่องการทำมาหากิน (แต่ละวรรณะมีหน้าที่ของตนเอง ห้ามก้าวก่าย) กฎเรื่องบ้านเรือนที่อยู่อาศัย (ห้ามศูทร/จัณฑาลมีคฤหาสหรือปราสารท) เป็นต้น .
14
ในการกำหนดวรรณะของคนในสังคมนั้นไม่ได้กำหนดเฉพาะ ความเป็นวรรณะเท่านั้นยังได้กำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบที่ทำ อาชีพ การแต่งกาย และในด้านอื่น ๆ ไว้ด้วย
15
ระบบวรรณะ : Varna ( Caste system )
เรียกตามลำดับศักดิ์ของวรรณะ พราหมณ์ (Brahmana) กษัตริย์ (Kshatriya) แพศย์ (Vaishya) ศูทร (Sudra)
16
ระบบวรรณะ : Varna ( Caste system )
เรียกตามลำดับศักดิ์ของวรรณะ พราหมณ์ (Brahmana) กษัตริย์ (Kshatriya) แพศย์ (Vaishya) ศูทร (Sudra) ไม่จัดอยู่ในวรรณะ -----> จัณฑาล (Untouchable)
17
วรรณะพราหมณ์ เกิดจากพระโอษฐ์ของพระพรหม มีเครื่องแต่งกายประจำคือสีขาว อันแสดงถึงความบริสุทธิ์ มีหน้าที่กล่าวมนต์ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาให้แก่ผู้คนโดยทั่วไป เป็นพวกศึกษาเล่าเรียน คัมภีร์พระเวท เป็นสื่อกลางระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า
18
วรรณะกษัตริย์ เกิดจากอกของพระพรหม @ ถือว่าสืบเชื้อสายมาจากพระอาทิตย์ @ มีเครื่องแต่งกายสีแดง @ เป็นชนชั้นปกครองหรือนักรบ ปัจจุบันวรรณะนี้เป็นบุคคลทั่วไป ไม่จำเป็นว่าต้องกษัตริย์เสมอไป
19
@ ปัจจุบันวรรณะนี้เป็นบุคคลทั่วไป พระธรรมศาสตร์ยังอนุญาตให้ผู้ที่เป็นกษัตริย์ ประกอบอาชีพอื่นได้ เช่น เป็นครู อาจารย์ ทำพิธียัญและการกุศลต่าง ๆ ทำการกสิกรรม และการค้าขายเพื่อการครองชีพได้
20
วรรณแพศย์ เกิดจากตะโพก (บางแห่งว่าจากตัก) ของพระพรหม @ มีเครื่องแต่งกายประจำคือสีเหลือง @ เป็นพวกแสวงหาทรัพย์สมบัติจัดเป็นพวกพ่อค้าวาณิช ทำ เกษตรกรรม เป็นพลเรือนโดยทั่วไป
21
แพศย์ หมายถึงผู้ที่ทำหน้าที่ประกอบการค้า และพาณิชยการต่าง ๆ คัมภีร์ธรรมศาสตร์ บ่งไว้ว่าผู้ที่มีลักษณะสี่ประการที่กำหนดได้ชื่อว่า เป็นแพศย์ แต่ในยามวิบัติกาลพระธรรมศาสตร์ ก็อนุญาตให้ประกอบอาชีพได้ทุกอย่างตามกาละเทศ โดยต้องเป็นอาชีพที่สุจริตเท่านั้น
22
วรรณะศูทร เกิดจากฝ่าเท้าของพระพรหม มีเครื่องแต่งกายคือสีดำหรือสีอื่น ๆ ที่ไม่มีความสดใส เป็นกรรมกร มีอาชีพชั้นต่ำ เป็นที่ดูถูกในสังคม เป็นผู้รับใช้ในกิจการงานต่าง ๆ โดยทั่วไป
23
ศูทร (Sudra)
24
วรรณะศูทรเป็นวรรณะที่มีจำนวนมากที่สุดในอินเดียมีมากกว่าวรรณะอื่น ๆ
25
วรรณะศูทรเป็นวรรณะที่มีจำนวนมากที่สุดในอินเดียปัจจุบันนี้โดยมีมากกว่าวรรณะอื่น ๆ สามารถพบเห็นได้ทั่วไปในอินเดีย ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มคนชั้นล่างที่มีฐานนะยากจน
26
วรรณะศูทรเป็นวรรณะที่มีจำนวนมากที่สุดในอินเดียมีมากกว่าวรรณะอื่น ๆ สามารถพบเห็นได้ทั่วไปในอินเดีย ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มคนชั้นล่างที่มีฐานนะยากจน
27
ตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ์ถือว่าแต่ละวรรณะนั้นถูกสร้างมาจากแต่ละส่วนของพระพรหม
28
พวกที่ไม่ถูกจัดเข้าพวก 4 วรรณะนั้น คือ จัณฑาล ( Untouchable ) หรือ อธิศูทร ( Adhisudra ) หรือ หริชน
29
เป็นกลุ่มที่ต่ำต้อยที่สุดที่ไม่ได้รับอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสังคม ชื่อของวรรณะ(กลุ่ม)นี้ไม่เคยมีปรากฏในพระเวท วรรณะจัณฑาลเกิดมาจากพวกที่ แต่งงานข้ามวรรณะ ลูกที่ออกมาจึงกลายเป็นจัณฑาล
30
จัณฑาลเป็นกลุ่มที่ต่ำต้อยที่สุดที่ไม่ได้รับอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสังคม เป็นกลุ่มคนที่ถูกรังเกียจมากที่สุดในสังคมแบบวรรณะของอินเดียและไม่จัดว่าอยู่ในวรรณะทั้ง 4 เพราะไม่มีปรากฏในคัมภีร์พระเวทของศาสนาฮินดู อันเนื่องจากที่เกิดจากพ่อแม่ที่ แต่งงานข้ามวรรณะ ลูกที่ออกมาจึงกลายเป็นจัณฑาล (เป็นการทำผิดจากจารีตทางสังคมที่รุ่นแรง)
31
จัณฑาลเป็นกลุ่มที่ต่ำต้อยที่สุดเป็นกลุ่มคนที่ถูกรังเกียจมากที่สุดในสังคมแบบวรรณะของอินเดียและไม่จัดว่าอยู่ในวรรณะทั้ง 4 (กลุ่มคนนอกวรรณะ)เพราะไม่มีปรากฏในคัมภีร์พระเวทของศาสนาฮินดู อันเนื่องจากที่เกิดจากพ่อแม่ที่ แต่งงานข้ามวรรณะ ลูกที่ออกมาจึงกลายเป็นจัณฑาล (เป็นการทำผิดจากจารีตทางสังคมที่รุ่นแรง)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.