ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยΘεράπων Θεοδοσίου ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
“ทิศทางความร่วมมือในการลดการประสบอันตรายและโรคจากการทำงาน”
วันพุธที่ 24 สิงหาคม 2559 เวลา น. ณ โรงแรมมารวยการ์เดน กรุงเทพมหานคร
2
ประเด็นการอภิปราย - ภารกิจของสำนักงานประกันสังคม
- แนวโน้มการดำเนินงานด้านความปลอดภัยในการทำงานในระดับนานาชาติ - ทิศทางความร่วมมือในการลดการประสบอันตรายและโรคจากการทำงาน
3
ภารกิจของ สปส. ด้านกองทุนเงินทดแทน
กองทุนเงินทดแทน เป็น กองทุนที่จัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นทุน ในการจ่ายเงินทดแทนให้แก่ ลูกจ้าง เมื่อลูกจ้างประสบ อันตรายหรือเจ็บป่วย หรือถึงแก่ ความตาย หรือสูญหาย เนื่องจาก การทำงาน ให้นายจ้าง โดย นายจ้างเป็นผู้มีหน้าที่จ่ายเงิน สมทบเข้ากองทุนเพียงฝ่ายเดียว
4
กฎหมายที่ เกี่ยวข้อง พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 มาตรา 28
กระทรวงแรงงาน*มีอำนาจจัดสรรเงินกองทุนไม่เกินร้อยละยี่สิบสองของดอกผลของกองทุนต่อปี เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการบำบัดรักษาและส่งเสริมการฟื้นฟูสมรรถภาพในการทำงานของลูกจ้างตามที่กระทรวงแรงงาน*ประกาศกำหนด และเป็นค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมหรือป้องกันเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน และไม่เกินร้อยละสามของดอกผลของกองทุนต่อปีเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของสำนักงานกองทุนเงินทดแทนและค่าใช้จ่ายตามมาตรา 43
5
พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทำงาน พ. ศ
พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ.2554 มาตรา 44 กำหนดให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรียกว่า “กองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน” เพื่อเป็นทุนใช้จ่ายในการดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน มาตรา 45 กำหนดให้กองทุนประกอบด้วย (2) เงินรายปีที่ได้รับการจัดสรรจากกองทุนเงินทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน
6
Healthy Work – Healthy Life People- centred Prevention
แนวโน้มการดำเนินงานด้านความ ปลอดภัยฯระดับสากล Vision Zero Healthy Work – Healthy Life People- centred Prevention Demographic Change Work in Digital World
7
ข้อมูลสถิติการประสบอันตราย 3 ปี ของประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2556 - 2558
8
อัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย ปี 2549 - 2558
9
จังหวัดที่ประสบอันตรายมากที่สุด 3 ปี ย้อนหลัง
ปี
10
ประเภทกิจการที่ประสบอันตรายมากที่สุด 3 ปี ย้อนหลัง
ปี จำนวนราย
11
กลุ่มอายุที่ประสบอันตรายมากที่สุด 3 ปี ย้อนหลัง
ปี จำนวนราย
12
อวัยวะที่ประสบอันตรายมากที่สุด 3 ปี ย้อนหลัง
ปี จำนวนราย
13
สาเหตุที่ประสบอันตรายมากที่สุด 3 ปี ย้อนหลัง
ปี จำนวนราย
14
สถานการณ์โรคจากการทำงาน ปี 2011 – 2015
สถานการณ์โรคจากการทำงาน ปี – 2015 โรค ปี 2011 2012 2013 2014 2015 โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้างกระดูกที่เกิดขั้นจากการทำงาน 3,246 3,234 3,146 2,064 2,005 โรคผิวหนังที่เกิดเนื่องจากการทำงาน 1,040 529 489 348 324 โรคที่เกิดจากสารเคมี 34 60 132 12 11 โรคหูตึงจากเสียง 13 28 44 3 29
15
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความปลอดภัย
แผนภาพความเชื่อมโยงงานด้านความปลอดภัย ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง กองทุนต่างๆ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความปลอดภัย ยุทธศาสตร์หน่วยงาน ภารกิจตามกฎหมาย 15
16
ทิศทางการดำเนินงาน 1.การทำงานแบบบูรณาการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. การส่งเสริมให้เกิดความความตระหนักในความปลอดภัยในการทำงานของภาคส่วนต่างๆ 3. การเตรียมความพร้อมรับมือกับความเสี่ยงในการประสบอันตรายรวมทั้งโรคจากการทำงานใหม่ๆ 4. การป้องกันการประสบอันตราย หรือโรคจากการทำงานที่เกิดจากสภาพการทำงาน การใช้เครื่องมือเครื่องใช้เป็นเทคโนโลยีใหม่ ๆ / สารเคมี / การใช้คอมพิวเตอร์ หรืออื่นๆ
17
เน้น 4 H - Heart - Head - Hear - Hand ข้อคิด..........................
18
ขอบพระคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.