งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบการจัดการงบประมาณ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบการจัดการงบประมาณ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบการจัดการงบประมาณ

2 ความหมายของการจัดทำงบประมาณ
1. เป็นแผนการใช้เงินในอนาคต 2. เป็นแผนแสดงการใช้ทรัพยากรของกิจกรรม ต่างๆในช่วงเวลาหนึ่ง

3 ความสำคัญของงบประมาณ
1. เป็นเครื่องมือในการบริหารนโยบายทางเศรษฐกิจการคลังของประเทศ 2. เป็นการกำหนดขอบเขตภารกิจของรัฐ 3. เป็นเครื่องมือของรัฐสภา และประชาชน 4. เป็นเครื่องมือของผู้บริหาร

4 ปัญหาของการจัดทำงบประมาณ
ขาดความเชื่อมโยงในการวางแผนทุกระดับ มุ่งเน้นรายการใช้จ่ายมากกว่ามุ่งความสำเร็จของงาน ขาดความเชื่อมโยงระหว่างแผนการปฏิบัติงานกับการจัดสรร งบประมาณ ไม่มีการวางแผนการเงินล่วงหน้า ขาดความครอบคลุมครบถ้วนทุกแหล่งเงิน ขาดความคล่องตัวในการบริหารจัดการด้านงบประมาณ ไม่คำนึงถึงประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินทรัพย์

5 กระบวนการงบประมาณ มี 3 ขั้นตอน คือ
กระบวนการงบประมาณ มี 3 ขั้นตอน คือ การวางแผนและ จัดทำงบประมาณ การบริหารงบประมาณ การติดตามประเมินผล และการรายงาน

6 การจัดการงบประมาณ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ การจัดการงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555 ดำเนินงาน และ ติดตามประเมินผล

7 ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555
ให้ความสำคัญกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11( พ.ศ ) นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการกำหนดงบประมาณ สร้างกลไกรองรับผลกระทบอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัย ต่างๆ ทั้งภายนอกและภายในประเทศ

8 ระบบงบประมาณของไทย

9 ระบบงบประมาณแบบแสดงรายการ
(Line Items Budgeting System) PPBS (Planning Programming Budgeting System) ระบบงบประมาณแบบแสดงผลงาน (Performance Budgeting System) ระบบงบประมาณแบบแสดงแผนงาน (Program Budgeting System) ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ (Strategic Performance Based Budgeting System) พ.ศ พ.ศ พ.ศ ปัจจุบัน

10 แนวคิดของระบบงบประมาณ
แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายและ ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ ให้กระทรวง ทบวง กรม มีบทบาท/ อำนาจตัดสินใจ ในการจัดสรรทรัพยากรมากขึ้น เป็นระบบควบคุม ตรวจสอบ ที่มีประสิทธิภาพ และ โปร่งใส

11 ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน
จุดมุ่งหมาย (Purpose) พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากร โดยมุ่งเน้นผลสำเร็จของงานเพื่อเกื้อหนุนต่อภารกิจของรัฐและประโยชน์แก่ประชาชน วัตถุประสงค์ (Objectives) เพื่อให้ได้มาซึ่งระบบงบประมาณที่สามารถวัดผลสำเร็จของงานสามารถเชื่อมโยงการบริหารจัดการทรัพยากรที่ผ่านกระบวนการที่มีประสิทธิภาพสะท้อนให้เห็นความสำเร็จของการบริหารจัดการทรัพยากรต่อภารกิจของรัฐภายใต้ระบบบริหารจัดการที่โปร่งใส ตรวจสอบได้

12 ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
(Stategic Performance Based Budgeting) เปลี่ยนจุดเน้นจาก การจัดการงบประมาณ ที่เน้นการควบคุมทรัพยากร (Input Oriented) ที่ใช้ในการดำเนินงาน (Process Oriented) เป็น การมุ่งเน้นผลการดำเนินงาน (Performance Based) ของ ผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) ตามยุทธศาสตร์ (Strategy) ที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล และต้องมีการวัดผลสำเร็จของผลงาน (Performance Measures) ด้วยการติดตามผลและประเมินผล (Monitoring and Evaluation) โดยวิเคราะห์จากผลสำเร็จตามตัวชี้วัด ที่กำหนดไว้อย่างสมบูรณ์ชัดเจน มีหน่วยนับที่มี ค่าหรือเกณฑ์การวัดที่ ใช้ได้จริงและเหมาะสมกับเวลา ในเชิงของตัวชี้วัดผลสำเร็จทั้ง 4 มิติ คือ ปริมาณ คุณภาพ เวลา ค่าใช้จ่าย (ต้นทุน) แสดงความสำคัญของการติดตามผลและประเมินผล ที่มีต่อระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ โดยอธิบาย จุดมุ่งเน้นที่เปลี่ยนจาก Input และ Process เป็นมุ่งเน้นผลสำเร็จของผลผลิตและผลลัพธ์ โดยการติดตามผลและประเมินผลที่มีตัวชี้วัดผลสำเร็จทั้ง 4 มิติ คือ ปริมาณ คุณภาพ เวลา ต้นทุน/ค่าใช้จ่าย

13 การปรับปรุงระบบงบประมาณ
ระบบงบประมาณเดิม ใช้ระบบแสดงรายการ (Line-item Budgeting): ให้ความสำคัญกับการควบคุมปัจจัยนำเข้า (Input) เน้นหมวดรายจ่ายเป็นสำคัญ ระบบงบประมาณแบบใหม่-แบบแผนงาน (Program Budgeting) เปลี่ยนจุดเน้นจากการควบคุมทรัพยากรนำเข้ามาเป็นการมุ่งเน้นผลงาน (Performance-based Budgeting)

14 ระบบงบประมาณแบบใหม่-แบบแผนงาน
วัตถุประสงค์ เพื่อให้การจัดทำแผนงบประมาณสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อเป็นเครื่องมือในการตัดสินใจ และกระจายอำนาจ เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบในการใช้จ่ายเงิน งบประมาณ

15 เปรียบเทียบระบบงบประมาณเก่า-ใหม่
ระบบเก่า ทรัพยากรนำเข้า ควบคุมการจัดสรรอย่าง เข้มงวด เคร่งครัดการเบิกจ่าย ระบบใหม่ ผลผลิตและผลลัพธ์ ความรับผิดชอบ, ความโปร่งใส การมอบและกระจายอำนาจ การจัดทำแผนงบประมาณ ล่วงหน้า

16 หลักการสำคัญของระบบงบประมาณแผนงาน
ขั้นตอน ใช้นโยบายนำ เน้นประโยชน์ของ ประชาชน จัดลำดับความสำคัญ ความต่อเนื่อง เน้นผลงาน นโยบายรัฐบาล เป้าหมายยุทธศาสตร์ เป้าหมายหน่วยงาน การจัดสรรงบประมาณ

17 การจัดสรรงบประมาณและการเบิกจ่าย
ขั้นตอน หลักการ ยึดหลักธรรมาภิบาลโดย คำนึงถึงความโปร่งใส และตรวจสอบได้ ไม่รวมศูนย์อำนาจ มีความยืดหยุ่นในการ บริหารจัดการ เป้าหมายหน่วยงาน การจัดสรรงบประมาณ เบิกจ่ายตามที่จัดสรรให้

18 การจัดการรายจ่ายภาครัฐสมัยใหม่
ผลลัพธ์ที่คาดหวัง การรักษาวินัย ทางการคลัง การจัดสรรงบประมาณ ที่มีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพ

19 มาตรฐานการบริหารจัดการทางการเงิน
การเตรียมการก่อนเข้าสู่ ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน มาตรฐานการบริหารจัดการทางการเงิน (7 Hurdles) 1. การวางแผนงบประมาณ 2. การคำนวณต้นทุนผลผลิต 3. การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง 4. การบริหารทางการเงิน/การควบคุมงบประมาณ 5. การรายงานทางการเงินและผลการดำเนินงาน 6. การบริหารสินทรัพย์ 7. การตรวจสอบภายใน

20 องค์ประกอบที่สำคัญของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
การประมาณการงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF) (แผนบริหารราชการแผ่นดินและแผนปฏิบัติราชการ) มุ่งเน้นผลสำเร็จของงานตามผลผลิต ผลลัพธ์ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง ผลผลิตและตัวชี้วัด การเพิ่มขอบเขตความครอบคลุมของงบประมาณ การมอบอำนาจการบริหารจัดการงบประมาณ เน้นให้กระทรวงมีอำนาจในการบริหารจัดการงบประมาณเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จมากกว่าเน้นกฎระเบียบ ระบบการติดตามและประเมินผลความสำเร็จตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (Monitoring and Evaluation) เน้นหลักการธรรมาภิบาล (Good Governance) การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละระดับ มีระบบการติดตามประเมินผลและการรายงานผลการ ดำเนินงานที่โปร่งใส และตรวจสอบได้ (ขั้นตอนชัดเจน โปร่งใส-ประโยชน์-ประหยัด)

21 Budgeting Framework โครงสร้าง ระบบงบประมาณใหม่ BIS AMIS
ยุทธศาสตร์ระดับชาติ/รัฐบาล ตัวชี้วัด National/Government Strategy Major Key Success Factors GFMIS เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Target) Government Strategic Direction การกำหนดทางเลือก ในการผลิตและการใช้ทรัพยากร ( Intervention Logic) เป้าหมาย การให้บริการ (PSA/SDA) Key Performance Indicators Manager Flexibility & Accountability Output Performance (QQTC) BIS ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ ( Intervention Logic) กระบวนการ จัดทำผลผลิต (Delivery Process) Ev MIS โครงสร้าง ระบบงบประมาณใหม่ AMIS ทรัพยากร (Resources) Evaluation

22 กระบวนการจัดการงบประมาณแบบ SPBB
นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ประเทศ ผลลัพธ์สุดท้าย ULTIMATE GOAL แผนงบประมาณ ประเมินผล ระดับ ผลลัพธ์ ยุทธศาสตร์กระทรวง ผลลัพธ์ OUTCOME กลยุทธหน่วยงาน ผลลัพธ์เบื้องต้น ผลผลิตที่เกิด FINAL OUTPUT ติดตามผล และ ประเมินผล ผลสำเร็จ ระดับผลผลิต และกิจกรรม OUTPUT DILIVERY ผลผลิต / โครงการ กิจกรรมนำส่งผลผลิต ACTIVITY ติดตามผลการ ใช้งบประมาณ เงินงบประมาณ INPUT ผลที่ได้ ความเชื่อมโยง จัดสรรงบประมาณ

23 ความเชื่อมโยงและเส้นทางการแปลงยุทธศาสตร์เพื่อการจัดสรรงบประมาณ
สู่ผลผลิตภายใต้แผนงบประมาณตามยุทธศาสตร์ นโยบายรัฐบาล แผนบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ประเทศ เป้าหมายยุทธศาสตร์ แผนงบประมาณ ULTIMATE GOALS OUTCOMES OUTPUTS ACTIVITIES INPUT แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และ MTEF ยุทธศาสตร์กระทรวง เป้าหมายการให้บริการกระทรวง กลยุทธ์หน่วยงาน เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน แผนปฏิบัติราชการ 1 ปี งบประมาณประจำปี การให้บริการ ผลผลิต / โครงการ กิจกรรมนำส่ง แผนการปฏิบัติงาน แผนการใช้จ่ายงบประมาณ CASCADING BUDGETING เงินงบประมาณ

24 โครงการเป้าหมายและความรับผิดชอบของส่วนราชการตามแผนยุทธศาสตร์
รัฐบาล Government ยุทธศาสตร์ชาติ National Strategy เป้าหมายยุทธศาสตร์ Strategic Delivery Target 1 ตัวชี้วัด Indicators PSA กระทรวง Ministries ยุทธศาสตร์กระทรวง Ministry Strategy เป้าหมายการให้บริการ (สาธารณะ) Service Delivery Target (Ministries level) ตัวชี้วัด Indicators 2 SDA ตัวชี้วัด Indicators 3 ส่วนราชการ Agencies แผนการให้บริการ (กลยุทธ์หน่วยงาน) Service Delivery (Action Plan) เป้าหมายการให้บริการ ระดับหน่วยงาน Service Delivery Target (Agencies level) ปริมาณ คุณภาพ Quantity Quality ตัวชี้วัด Indicators เวลา ต้นทุน Timeliness Costing งาน/โครงการ Workplan / Project ผลผลิต Outputs Baseline โครงการใหม่ New Initiatives กิจกรรมหลัก Activities ศูนย์ต้นทุน Cost Center กระบวนการ ติดตาม และประเมินผล Monitoring & Evaluation ต้นทุนทางตรง Direct cost ต้นทุนทางอ้อม Indirect cost

25 National Strategic Planning
กระบวนการแปลงยุทธศาสตร์สู่มิติหน่วยงาน/ มิติการจัดทำงบประมาณระดับจังหวัด/ มิติยุทธศาสตร์เฉพาะ (ใหม่) 1 ยุทธศาสตร์ ระดับชาติ นโยบายที่ แถลงต่อรัฐสภา National Strategic Planning ยุทธศาสตร์การจัดสรร ยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด/จังหวัด ศักยภาพของพื้นที่ ที่ตั้ง โครงสร้างพื้นฐาน ทรัพยากรธรรมชาติ ภาคเอกชน ประชาชน Ar2 เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ แข่งขัน ยั่งยืน สังคม ... บริหาร มั่นคง ยุทธศาสตร์เฉพาะ บริบทที่เกี่ยวข้อง ปัญหาสำคัญ กลุ่มเป้าหมาย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การบูรณาการ Ag2 แผนการดำเนินงาน เชิงยุทธศาสตร์เฉพาะ คณะกรรมการ หน่วยงาน ท้องถิ่น ภาคชุมชน/ ประชาชน/เอกชน คณะอนุกรรมการ Ag3 มิติ ยุทธศาสตร์ เฉพาะ แผนการดำเนินงานเชิงยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด/จังหวัด จังหวัด หน่วยงาน ท้องถิ่น เอกชน ภาคชุมชน/ประชาชน Client (ลูกค้า) Product ผู้ประกอบการ มิติพื้นที่ Ar3 ยุทธศาสตร์กระทรวง สถานภาพกระทรวง นโยบายที่เกี่ยวข้อง ผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการ (PSA และ SDA) ปัจจัยที่มีผลกระทบ Fn2 มิติ หน่วยงาน แผนการดำเนินงานเชิงยุทธศาสตร์กระทรวง ระดับกระทรวง ระดับกรม ระดับภูมิภาค ระดับพื้นที่ หน่วยงานที่รับผิดชอบ Fn3 ระบบงบประมาณ ท้องถิ่น 4

26 ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ และตัวชี้วัด

27 ผลผลิต OUTPUT PRODUCT SERVICE
สิ่งของ หรือ บริการ ที่เป็นรูปธรรม / รับรู้ได้ จัดทำ หรือ ดำเนินงานโดยหน่วยงานของรัฐ เพื่อให้บุคคล / องค์กรภายนอกใช้ประโยชน์ หรือการตอบคำถามได้ว่า “ ได้รับอะไรจาก การดำเนินงานของรัฐ” ( WHAT ? )

28 ผลลัพธ์ OUTCOME ประโยชน์ที่สาธารณชนและองค์กรภายนอก
ได้รับจากการใช้ ผลผลิต / บริการ ที่จัดทำหรือดำเนินงานโดยหน่วยงานรัฐ เป็นผลที่ตามมาจากการใช้ผลผลิต/บริการ เป็นการตอบคำถามได้ว่า “ทำไมจึงต้องดำเนินการให้ได้ผลผลิต / บริการ นั้น” (WHY ?)

29 ผลกระทบ IMPACT ผลที่เกิดขึ้นเกี่ยวเนื่องจาก การดำเนินงานของรัฐ
เกิดจากผลลัพธ์อีกทอดหนึ่ง อาจมีลักษณะเป็นผลพลอยได้ นอกเหนือจากที่ตั้งใจจะให้เกิดขึ้นโดยตรง เป็นได้ทั้ง ทางบวกและลบ ที่รัฐต้องตัดสินใจเลือก โดยใช้ผลจากการศึกษาและวิเคราะห์ความเหมาะสมของผลผลิต/บริการและโครงการ ที่รัฐดำเนินการ

30 ตัวชี้วัด INDICATORS การกำหนด การตรวจวัดความสำเร็จ ของผลผลิต ผลลัพธ์
ของผลผลิต ผลลัพธ์ มี ค่า / เกณฑ์วัด (Benchmark) และหน่วยวัด ชัดเจนที่ใช้ได้ ในเวลาที่เหมาะสม สามารถวัด ปริมาณ คุณภาพ เวลาและค่าใช้จ่าย เพื่อการประเมินผล

31 Key Performance Indicators
ตัวชี้วัดผลสำเร็จ Key Performance Indicators ปริมาณ Quantity คุณภาพ Quality เวลา/สถานที่ Timeliness/Place ต้นทุน(ค่าใช้จ่าย) Cost (Price)

32 กรมการขนส่งทางบก ตัวอย่าง การกำหนดตัวชี้วัดผลผลิต
ตัวอย่าง การกำหนดตัวชี้วัดผลผลิต ผลผลิต การบริการด้านทะเบียนรถและใบอนุญาตขับรถและผู้ประจำรถ (BENCHMARKS) KPI s ตัวชี้วัด (Indicators) ค่า / เกณฑ์การวัด ปริมาณ คุณภาพ เวลา ค่าใช้จ่าย จำนวนการดำเนินการด้านทะเบียนและภาษี จำนวนการดำเนินการด้านใบอนุญาตขับรถ และผู้ประจำรถ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ความถูกต้องของทะเบียนรถและใบอนุญาต เวลาที่ใช้ในการให้บริการด้านทะเบียนรถ เวลาที่ใช้ในการให้บริการด้านใบอนุญาต ค่าใช้จ่ายการให้บริการ ฯ ต่อราย 19,000,000 ครั้ง 5,000,000 ครั้ง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ไม่เกิน 2 ชั่วโมง ต่อราย ไม่เกิน 2 วัน ต่อราย ไม่เกิน 20 บาท / 54 บาท

33 การเตรียมความพร้อมการจัดทำงบประมาณ
ทบทวนเป้าหมาย กลยุทธ์ ผลผลิต กิจกรรมและ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ ติดตามผลการดำเนินงานและผลการใช้จ่าย งบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ และ 2553 ปรับปรุงฐานข้อมูลงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 ประมาณการรายจ่ายขั้นต่ำที่จำเป็น/รายจ่ายตามข้อ ผูกพันที่ต้องจัดสรร ประมาณการรายจ่ายตามภารกิจพื้นฐานและนโยบาย ต่อเนื่องของรัฐบาลตามยุทธศาสตร์ที่มีข้อผูกพัน

34 รายจ่ายประจำขั้นต่ำ หมายถึง รายจ่ายประจำขั้นต่ำที่จำเป็นต้องจัดสรร งบประมาณ ให้ตามสิทธิและข้อกำหนดตามกฎหมาย ในส่วนที่ยังไม่รวม เนื้องาน ประกอบด้วย ค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับบุคลากร ค่าเช่าทรัพย์สิน (อาคาร/ที่ดิน) และ ค่าสาธารณูปโภค (ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์)

35 รายจ่ายประจำขั้นต่ำ 1. ค่าใช้จ่ายบุคลากร ประกอบด้วย งบบุคลากร
1. ค่าใช้จ่ายบุคลากร ประกอบด้วย งบบุคลากร - เงินเดือน/ค่าจ้างประจำและเงินอื่นๆที่จ่ายควบกับเงินเดือนและค่าจ้างประจำ - ค่าจ้างชั่วคราว (เฉพาะค่าจ้างชั่วคราวที่ปฏิบัติงานในสำนักงานต่างประเทศ) งบดำเนินงาน - ค่าเช่าบ้าน - ค่าตอบแทนพิเศษข้าราชการและลูกจ้างประจำที่ได้รับเงินเดือนเต็มขั้น - เงินเพิ่มพิเศษสำหรับแพทย์ ทันตแพทย์และเภสัชกรที่ไม่ทำเวชปฏิบัติส่วนตัว - ค่าตอบแทนสำหรับกำลังคนด้านสาธารณสุข ฯลฯ

36 2. ค่าเช่าทรัพย์สิน หมายถึง ค่าเช่าอาคาร/ที่ดิน (ไม่รวมอาคารที่เช่าใหม่, ค่าเช่าอุปกรณ์สำนักงาน) ตามสิทธิและข้อกำหนดตามกฎหมาย (ตั้งในงบดำเนินงาน)

37 3. ค่าสาธารณูปโภค เฉพาะ ค่าไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ไม่รวมอาคารใหม่
ปรับลดลงร้อยละ 5 ของปีงบประมาณที่ผ่านมา ซึ่งเป็นไปตามมาตรการประหยัด ตามมติ ครม.เมื่อวันที่ 22 ก.ค ทั้งนี้ไม่รวมอาคารและอุปกรณ์ใหม่ที่เริ่มใช้ในปี 2551 (ตั้งในงบดำเนินงาน)

38 ประกอบด้วย รายจ่ายชำระหนี้เงินกู้ ภาระผูกพันตาม งบประมาณ (สัญญา + มาตรา 23) ค่าตอบแทนพนักงานราชการ ภายใต้กรอบที่ก.พ. อนุมัติ และทำสัญญาจ้างแล้ว ค่าใช้จ่าย สำหรับนักเรียนทุน (ไม่รวมทุนใหม่) และเงินอุดหนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

39 ตรวจสอบรายละเอียดข้อมูลให้เป็นปัจจุบันสำหรับตั้งงบประมาณปี 2554
ภาระผูกพันตาม ม.23 ภาระผูกพันตามสัญญา ภาระผูกพันตามกฎหมาย มติ ค.ร.ม. และอื่นๆ ตรวจสอบรายละเอียดข้อมูลให้เป็นปัจจุบันสำหรับตั้งงบประมาณปี 2554

40 รายจ่ายตามภารกิจพื้นฐาน
หมายถึง หน้าที่ความรับผิดชอบที่ต้องดำเนินการ เป็นปกติประจำตามกฎหมายหรือระเบียบ ซึ่งมี ลักษณะงานและปริมาณที่ชัดเจนต่อเนื่อง

41 รายจ่ายตามภารกิจยุทธศาสตร์
หมายถึง หน้าที่ความรับผิดชอบที่ดำเนินงานตามที่ได้รับ มอบหมายในเชิงนโยบาย ซึ่งอาจเป็นภารกิจพื้นฐานที่ ต้องการผลักดันหรือเห็นความสำคัญในช่วงระยะเวลาหนึ่งก็ ได้ ซึ่งหมายรวมถึงนโยบายสำคัญอื่นตามยุทธศาสตร์การ พัฒนา

42 รายจ่ายตามภารกิจยุทธศาสตร์
- นโยบายต่อเนื่อง (Existing Policy) - นโยบายใหม่ (New Policy)

43 การจัด สรรงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้า ระยะปานกลาง(Medmium Term Expenditure Framework) MTEF
- เป็นการกำหนดกรอบงบประมาณประจำปี ให้เชื่อมโยงกับแผน กลยุทธ์ เพื่อจัดทำค่าใช้จ่ายใน ระยะปานกลาง ( 3 ปี) - เป็นการประมาณการต้นทุน ค่าใช้จ่ายพื้นฐาน( Baseline ) ของงาน/โครงการ ที่จะได้รับในอนาคต( 3ปี) - แผนงาน งาน/โครงการ ที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ สามารถดำเนินการไปข้างหน้าโดยอัตโนมัติ ในกรณีที่ไม่มีการเปลี่ยน

44 - นำมาใช้เป็นแนวทาง สำหรับการจัดทำงบ ประมาณปีต่อ ๆ ไป ความประหยัด
ลักษณะสำคัญของ MTEF ความถูกต้อง - นำมาใช้เป็นแนวทาง สำหรับการจัดทำงบ ประมาณปีต่อ ๆ ไป ความประหยัด - เป็นค่าใช้จ่ายต่ำสุด ที่จะใช้เป็นฐานกำหนด งบประมาณในอนาคต

45 ลักษณะสำคัญของ MTEF (ต่อ)
ความสอดคล้อง - จะเป็นค่าใช้จ่ายตามแผน ที่ได้รับ อนุมัติจาก รัฐบาลเท่านั้น การคุมเข้ม - ประมาณการรายจ่ายที่เกิดขึ้นสำหรับปี ต่อไป ต้องกระทำด้วยความระมัดระวัง

46 ประโยชน์ของ MTEF ด้านวินัยโดยรวม - ทำให้ทราบภาระผูกพันของรายจ่ายในอนาคต ภายใต้แผนงานในปัจจุบัน - MTEF จะช่วยควบคุมแนวโน้มการเพิ่มของ รายจ่ายสำหรับโครงการใหม่

47 ประโยชน์ของ MTEF (ต่อ)
- รัฐบาลมีกรอบเวลานานขึ้นในการพิจารณา วางแผนและการตัดสินใจให้สอดคล้องกับ เป้าหมายของเศรษฐกิจ สัดส่วนของรายจ่ายดีขึ้น - ให้ความสำคัญ การพิจารณาโครงการใหม่ - ลดภาระการพิจารณางบประมาณที่เป็นฐาน เดิม

48 ประโยชน์ของ MTEF (ต่อ)
ทำให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพดีขึ้น - ส่วนราชการมั่นใจได้ว่า จะได้รับ งบประมาณสำหรับแผนงานในอนาคต - จะให้ความสำคัญ แก่แผนงานมากขึ้น - ส่วนราชการจะลด การขอเพิ่ม งบประมาณเกินความจำเป็น

49 การจัดทำและการดำเนินงานโครงการ

50 โครงการ หมายถึง กิจกรรมหรืองานที่เกี่ยวกับการ ใช้ทรัพยากร เพื่อหวังผลประโยชน์ตอบแทน โครงการต้องเป็นหน่วยอิสระหน่วยหนึ่ง ที่สามารถทำการวิเคราะห์ วางแผน และนำไป ปฏิบัติพร้อมทั้งมีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด

51 ลักษณะของโครงการ • วัตถุประสงค์ของโครงการชัดเจน
• วัตถุประสงค์ของโครงการชัดเจน • ความเป็นอิสระหรือความเป็นเอกเทศ • กิจกรรมการดำเนินงานเป็นขั้นตอนชัดเจนและต่อเนื่อง • มีสถานที่ตั้งของโครงการ • กำหนดระยะเวลาการดำเนินงานชัดเจน

52 ตาราง เปรียบเทียบขั้นตอนการบริหารโครงการ
3 ขั้นตอน 5 ขั้นตอน 8 ขั้นตอน 1. ขั้นการศึกษาและกำหนดโครงการ 1. ขั้นกำหนดหลักการ 1. ขั้นการวางแผนโครงการ 2. ขั้นการจัดเตรียมโครงการ 2. ขั้นกำหนดโครงการ 3. ขั้นการวิเคราะห์และ ประเมินโครงการ 2. ขั้นการดำเนินงานตาม โครงการ 3. ขั้นการประเมินและอนุมัติ โครงการ 4. ขั้นอนุมัติโครงการ 5. ขั้นการปฏิบัติงาน 3. ขั้นการติดตามและ ประเมินผลโครงการ 4. ขั้นการดำเนินงานและติดตาม โครงการ 6. ขั้นติดตามและรายงาน ผลการปฏิบัติงาน 7. ขั้นเปลี่ยนเป็นงานบริหาร ตามปกติ 5. ขั้นการติดตามและประเมิน ผลการประเมินผลโครงการ 8. ขั้นการประเมินผล โครงการ

53 วงจรโครงการ โครง แผน วาง การ I โครง ตาม งาน I I I เนิน การ ดำ ติด การ
การออกแบบ โครงการ อนุมัติโครงการ การเสนอเพื่อ การประเมิน โครงการ การศึกษา ความเป็นไปได้ การดำเนินงาน ตามโครงการ การกำหนด โครงการ การ ดำ ตาม โครง I I เนิน งาน การติดตามโครงการ การติดตามผล โครงการ การควบคุมโครงการ การปรับโครงการ การประเมินผล โครงการ I I I การ ประ เมิน และ ติด ตาม โครง

54 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
เป็นการศึกษาหาข้อมูลเพื่อประเมิน ความ คุ้มค่าของโครงการ ค่าใช้จ่าย กับ ผลตอบแทนของโครงการ

55 วัตถุประสงค์ของการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
เพื่อเป็นการจัดหาข้อมูลที่เพียงพอต่อการ ตัดสินใจลงทุน • เพื่อให้การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ

56 ประเภทของการศึกษาความเป็นไปได้
1. การศึกษาความเป็นไปได้ด้านเศรษฐกิจ 2. การศึกษาความเป็นไปได้ด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม 3. การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการตลาด 4. การศึกษาความเป็นไปได้ด้านเทคนิค 5. การศึกษาความเป็นไปได้ด้านเศรษฐศาสตร์และการเงิน 6. การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการจัดการ

57 ประเภทของการศึกษาความเป็นไปได้
3. การตลาด 1. เศรษฐกิจ 4. เทคนิค 5. การเงิน 6. การจัดการ 2. สิ่งแวดล้อม

58 ตัวแบบการคัดโครงการออก
1.1 ใช้หลักเกณฑ์คุณลักษณะของโครงการ (Profile Model) กำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณา โดยใช้คุณลักษณะของโครงการ เป็นการประเมินโดยไม่ใช้วิธีเชิงปริมาณ เป็นรูปแบบที่ง่าย สะดวกในการใช้ เกณฑ์การพิจารณา ระดับของเกณฑ์ สรุป สูง กลาง ต่ำ 1.ความสอดคล้องกับนโยบายยุทธศาสตร์ชาติ 2.ความสอดคล้องกับภารกิจหลักขององค์กร 3.ความสอดคล้องกับปัญหาและความต้องการ ของประชาชน 4.ความคุ้มทุน (ความเหมาะสมด้านเทคนิค ตลาด การเงิน เศรษฐกิจ สังคม บริหารฯ X Y เลือก X Y X X Y X Y

59 เกณฑ์การพิจารณา คะแนนรวม คล้ายตัวแบบ คุณลักษณะของโครงการ
1.2 ตัวแบบการตรวจสอบรายการ (Checklist Model) คล้ายตัวแบบ คุณลักษณะของโครงการ เปลี่ยนระดับของเกณฑ์ (จากสูง กลาง ต่ำ) เป็นคะแนน ตารางตรวจสอบรายการ คะแนนรวม เกณฑ์การพิจารณา คะแนน รวม -2 -1 1 2 1.โครงการ ก. 1.1 ความสอดคล้องกับนโยบายยุทธศาสตร์ฯ 1.2 ความสอดคล้องกับภารกิจหลัก องค์กร 1.3 ความสอดคล้องกับปัญหา ความต้องการ ปชช. 1.4 ความคุ้มทุน 2.โครงการ ข. 2.1 ความสอดคล้องกับนโยบายยุทธศาสตร์ฯ 2.2 ความสอดคล้องกับภารกิจหลัก องค์กร 2.3 ความสอดคล้องกับปัญหา ความต้องการ ปชช. 2.4 ความคุ้มทุน

60 ระบบการติดตามและประเมินผล
ประเมินผล / วิเคราะห์ ก่อนเริ่มดำเนินงาน Pre-evaluation / Assessment ติดตามผลและประเมินผล ระหว่างดำเนินงาน Monitoring and Interim Evaluation ประเมินผลหลังดำเนินงาน Post Evaluation ทบทวน เร่งรัด ชะลอ ยกเลิก ดำเนินงาน Redeployment

61 วัตถุประสงค์ของการประเมินผลการดำเนินงาน
(Performance Evaluation) ผู้บริหารทราบว่า การดำเนินงานของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ ประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลหรือไม่ เพื่อทราบว่าผลสำเร็จที่ได้มาจากกระบวนการทำงาน (Delivery System) หรือไม่ เพื่อทราบว่ากระบวนการทำงาน (Delivery Stystem) ใดไม่ก่อ ให้เกิดความสำเร็จ เพื่อจัดทำงบประมาณ

62 คุณลักษณะของระบบประเมินผลที่จะนำมาใช้ ประกอบด้วย
1. ใช้ได้กับทุกส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ 2. ใช้ได้กับทุกขั้นตอนในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน 3. ผู้นำไปใช้สามารถทำความเข้าใจและนำไปใช้อย่างมี ประสิทธิภาพ

63 ขั้นตอนการรายงานผล การติดตามผลและประเมินผล คณะรัฐมนตรี / นายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรีว่าการฯ รอง นายกรัฐมนตรี กระทรวง สำนักงบประมาณ ส่วนราชการฯ สำนักจัดทำงปม. สำนักประเมินผล

64 ตามภารกิจของสำนักงบประมาณ
การประเมินผล ตามภารกิจของสำนักงบประมาณ อดีต ปัจจุบัน อนาคต Input And Output PART Process Evaluation (Performance Assessment Rating Tool) Outcome Evaluation Budget Evaluation Strategic Performance Evaluation

65 การติดตามผล การติดตามผล โดยใช้แบบรายงาน แผน / ผล
การติดตามผล โดยใช้แบบรายงาน แผน / ผล (Periodic Performance Report Monitoring) การติดตามผลเฉพาะเรื่อง / ยุทธศาสตร์เฉพาะเรื่อง/ ผลผลิต / โครงการ (In-depth Monitoring) การติดตามผลแบบเร่งด่วน (Quick Monitoring)

66 ตามภารกิจของสำนักงบประมาณ
การประเมินผล ตามภารกิจของสำนักงบประมาณ การประเมินผลในเชิงประสิทธิภาพ โดยการทบทวนผลการวิเคราะห์ความเป็นไปได้และความคุ้มค่า ในการลงทุน (Output and Outcome Analysis Review) การประเมินผลในเชิงประสิทธิผล โดยการประเมินผลสำเร็จของผลผลิตและโครงการ ของหน่วยงาน ตามตัวชี้วัดที่กำหนด (Output / Project Performance Evaluation) การประเมินผล ผลงานตามยุทธศาสตร์ โดยเครื่องมือการวิเคราะห์ความเชื่อมโยง ผลสำเร็จตามยุทธศาสตร์ ระดับต่างๆ ในการใช้งบประมาณ (PART: Performance Assessment Rating Tool)

67 แนวทางและวิธีการประเมินผล Performance Assessment Rating Tool : PART
- เป็นการประเมินผลในเชิงปริมาณ โดยการให้คะแนน (Score) ผลการดำเนินงาน - เป็นการประเมินผลองค์การใน 2 ด้าน (1) ด้านผลการดำเนินงาน (ผลผลิต) (2) ด้านกระบวนการทำงาน

68 องค์ประกอบการวางแผนและประเมินผลตามแนวทาง PART
1. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ ( Purpose and Design) 2. การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) 3. ความเชื่อมโยงงบประมาณ(Budget and Performance Cascade) 4. การบริหารจัดการแผน (Management) 5. ผลผลิต/ผลลัพธ์ (Result )

69 ข้อกำหนดของเครื่องมือ PART
ดังนี้ ผู้ประเมินจะประเมินส่วนราชการโดยเน้นที่ผลผลิต กิจกรรมนำส่งผลผลิต ตัวชี้วัด และงบประมาณที่ระบุใน เอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ ผู้ถูกประเมินเป็นผู้กำหนดหน่วยการประเมิน (Unit of Evaluation) ซึ่งอาจเป็น 1 ผลผลิต หลายผลผลิต ที่ มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน และระบุกิจกรรมนำส่งผลผลิต ทั้งหมด หรือกำหนดทั้งส่วนราชการเป็นองค์กร

70 ข้อกำหนดของเครื่องมือ PART (ต่อ)
3. ผู้ประเมินจะถือเอกสารประกอบคำตอบเป็นหลักในการพิจารณา คำตอบ ทั้งนี้ให้ผู้ถูกประเมินชี้แจงหรืออธิบายสั้นๆประกอบ เพื่อทำ ความเข้าใจเหตุผลในการตอบ และส่วนราชการสามารถส่งเอกสาร เพิ่มเติมได้ในระหว่างการประเมินผล ภายในเวลาที่กำหนด

71 Evidence Proof การประเมินผลโดยระบบ PART ต้องอาศัยข้อมูลและหลักฐานมา

72 วิธีการงบประมาณแนวใหม่-กระบวนการ
อนุมัติ จัดทำ การกำหนดวงเงินรวม 4 หน่วยงาน ครม. การเปลี่ยนนโยบายเป็น เป้าหมายเชิงกลยุทธ์ คณะกรรมการ ครม. กระทรวง คณะกรรมการ การจัดทำเป้าหมายการบริการ การอนุมัติ พรบ. งบประมาณ ประจำปี ครม. รัฐสภา

73 วิธีการงบประมาณแนวใหม่-สิ่งที่จะเกิดขึ้นใหม่
คณะกรรมการนโยบายงบประมาณ การจัดทำข้อตกลงการให้บริการสาธารณะระหว่างคณะกรรมการนโยบาย งบประมาณ กับ รมต. การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติ อำนาจการปรับเปลี่ยนงบประมาณของฝ่ายบริหาร

74 คณะกรรมการนโยบายงบประมาณ
องค์ประกอบ อำนาจหน้าที่ นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับ มอบหมาย รมต.คลัง รมต.กำกับสำนักงบประมาณ รมต.อีก 4 คน ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ จัดลำดับความสำคัญของเป้าหมายยุทธศาสตร์ระยะปานกลาง และระยะสั้น กำกับดูแลและจัดทำร่าง พรบ.งบประมาณ กำหนดวิธีการจัดทำข้อตกลงบริการสาธารณะ กำหนดกรอบและระเบียบในการบริหารงบประมาณ กำหนดกระบวนการในการดูแลและประเมินผล

75 การจัดทำข้อตกลง รมต. เป็นผู้ลงนามในข้อตกลง กับคณะกรรมการนโยบายงบประมาณ
ข้อตกลงมี เป้าที่ชัดเจน (Objectives) และ Performance targets ที่แน่นอนเช่น ร้อยละของเด็กที่ ได้รับวัคซีน เป็นต้น มีการทำ Benchmark ในการกำหนดเป้า

76 อำนาจในการปรับเปลี่ยนงบประมาณ
ให้อำนาจคณะรัฐมนตรีในการปรับเปลี่ยนนโยบาย และเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ และปรับเปลี่ยน หรือยกเลิกงบประมาณได้ตามความจำเป็น แต่คณะรัฐมนตรี ต้องรับผิดชอบต่อเป้าหมายที่แถลง ไว้กับรัฐสภา ให้อำนาจรัฐมนตรีในการปรับเปลี่ยนเป้าหมายการให้บริการ และปรับเปลี่ยนหรือยกเลิก งบประมาณได้ตามความเหมาะสม แต่รัฐมนตรีจะต้องรับผิดชอบต่อข้อตกลงที่ได้ทำไว้กับ คณะกรรมการ

77 วิเคราะห์วิธีการงบประมาณแนวใหม่
สามารถช่วยแก้ปัญหาเศรษฐกิจอย่างไร ไม่เน้นการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจในระยะสั้น วางแผนการคลังในระยะปานกลาง มีการเชื่อมโยงของนโยบายการคลัง นโยบายรัฐบาล และ ระบบงบประมาณมากขึ้น มีความยืดหยุ่น ทำให้สามารถปรับนโยบายรายจ่ายตามความผันผวนของเศรษฐกิจในระยะสั้น เป้าที่ชัดเจนทำให้สามารถประมาณการณ์ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจของรายจ่ายภาครัฐได้ กระบวนการติดตามการใช้งบประมาณที่ดี ทำให้การใช้จ่ายมีประสิทธิภาพมากขึ้น

78 วิเคราะห์วิธีการงบประมาณแนวใหม่(ต่อ)
ประเด็นอื่นๆ ความเหมาะสมขององค์ประกอบของคณะกรรมการนโยบายงบประมาณ ควรจะมี ผู้ทรงคุณวุฒิด้วยหรือไม่ ในการกำหนด Prioritization คณะกรรมการนโยบายงบประมาณควรจะทำใน Level ใด ใครกำหนด Prioritization รายโครงการ สะท้อนถึง Accountability ต่อประชาชนอย่างไร แสดงถึงแนวความคิดแบบ People oriented อย่างไร ควรให้อำนาจเต็มที่แก่ฝ่ายบริหารในการปรับเปลี่ยนงบประมาณ หรือไม่ ถ้า รมต.ทำไม่ได้ตามเป้าควรมีบทลงโทษที่ชัดเจนหรือไม่ บทบาทของสำนักงบประมาณจะเปลี่ยนไปอย่างไร เป็นการช่วยการกระจายอำนาจหรือไม่ เป็นการส่งเสริมการปฏิรูประบบราชการอย่างไร


ดาวน์โหลด ppt ระบบการจัดการงบประมาณ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google