งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาตัวชี้วัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาตัวชี้วัด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่16: ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีงานวิจัยหรือผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรมที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย 1 เรื่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบ 5 เดือนแรก (ต.ค.59-ก.พ.60) สำนักคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

2 1. ข้อสังเกตโดยรวม จากการประเมินตนเองของตัวตัวชี้วัดที่ 16 ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีงานวิจัยหรือผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือ นวัตกรรมที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย 1 เรื่อง พบว่าหน่วยงานที่ตอบโจทย์ตัวชี้วัดทั้งหมด 27 หน่วยงานตามเป้าหมาย (ร้อยละ 100)

3

4 2. ข้อสังเกตต่อผลการประเมินตัวชี้วัด
2.1 กรณี 16.1 : งานวิจัย จากการวิเคราะห์พิจารณาจากความก้าวหน้าและคุณภาพของการดำเนินงาน พบว่าส่วนใหญ่มีการดำเนินงานตามขั้นตอนการประเมินถูกต้อง ครบถ้วน และมีการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแผนปฏิบัติงานวิจัยจำนวน 10 หน่วยงาน(ร้อยละ 100) 2.2 กรณี 16.2 : ผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม จำนวน 17 หน่วยงาน จากการวิเคราะห์ตามเกณฑ์การประเมินแต่ละขั้นตอนพบว่า มีการดำเนินงานตามเกณฑ์การประเมินตามขั้นตอนที่ 1-3 และมีหลักฐานถูกต้องและครบถ้วน จำนวน 13 หน่วยงาน(ร้อยละ 76.50) และหน่วยงานยังไม่ดำเนินตามเกณฑ์ และหลักฐานยังไม่ครบ จำนวน 4 หน่วยงาน(ร้อยละ 23.50)

5 3. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตัวชี้วัด
3.1 กรณี 16.1 : งานวิจัย ควรกำหนดเกณฑ์การประเมินสำหรับโครงการวิจัยใหม่ และโครงการวิจัยต่อเนื่องแยกออกจากกันเพื่อให้การประเมิน และควบคุม กำกับกระบวนการวิจัยได้อย่างถูกต้อง และสมบูรณ์ 3.2 กรณี 16.2 : ผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม กรอบการประเมินผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม มีความยากง่าย และรูปแบบการผลิตผลงานที่แตกต่างกัน จึงควรมีข้อตกลงร่วมกันในการกำหนดมาตรฐาน และกรอบการประเมินให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทอย่างเป็นทางการในระดับกรมอนามัยต่อไป

6 เกณฑ์การประเมินรอบ 5 เดือนหลัง (มี.ค.60-ก.ค.60)
 16.2 : กรณีงานวิจัย

7  16.2 : กรณีผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม

8 แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1. หน่วยงานส่งรายงานการประเมินตนเอง และสรุปบทเรียนSmall Success (special report) ในระบบศูนย์ติดตามผลการปฏิบัติการ(DOC) กรมอนามัย ในรอบ 5 เดือนแรก และรอบ 5 เดือนหลัง 2. นำผลงานวิจัย หรือผลงานวิชาการ หรือนวัตกรรมแนบหลักฐานขึ้นเว็บไซต์ของหน่วยงาน 3. นำผลงานวิจัย หรือผลงานวิชาการ หรือนวัตกรรมแนบหลักฐานขึ้นเว็บไซต์ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (P&E Distribution) ผู้ประสานตัวชี้วัด 1. นางสาวสมพร อิทธิเดชพงศ์ สำนักคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โทร 2. นายไพรชล ตันอุด กลุ่มพัฒนาวิชาการงานวิจัย โทร 3. นางสาวสุพรรณิการ์ บุษราคัม กลุ่มพัฒนาวิชาการงานวิจัย โทร 4. นางสาวชนกพร แสนสุด กลุ่มพัฒนาการจัดการความรู้ โทร 5. นางสาวพรรณธิภา ศรีชนะ กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ โทร

9


ดาวน์โหลด ppt ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาตัวชี้วัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google