ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การสำรวจค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทน
บทที่ 8. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
2
ความหมายของการสำรวจค่าจ้าง
การสำรวจค่าจ้าง หมายถึง การจัดทำสถิติเกี่ยวกับค่าจ้างแยกตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ ตามอาชีพ ตามอุตสาหกรรม หรือตามเมืองต่าง ๆ สำหรับช่วงเวลาหนึ่งที่กำหนดหรือที่จะนำมาใช้ ความมุ่งหมายของการจัดสำรวจค่าจ้าง คือ เพื่อรวบรวมข้อมูลตัวเลขเกี่ยวกับค่าจ้างเอาไว้เพื่อช่วยในการกำหนดระดับของค่าจ้างหรือเพื่อประโยชน์ในการนำมาปรับปรุงแก้ไขค่าจ้างที่ใช้อยู่ให้เกิดความยุติธรรมยิ่งขึ้น ในการกำหนดค่าจ้างดังกล่าว
3
การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทน
ต้องพิจารณาถึงรายได้ทุกประเภทหรือรายได้ทั้งปีไม่ว่าจะเป็น โบนัส (bonus) ค่าพาหนะ ค่าน้ำมันรถ รวมทั้งผลประโยชน์ตอบแทนอื่นๆ เช่น ประกันชัวิต ประกันอุบัติเหตุ ค่ารักษาพยาบาล บำเหน็จ บำนาญ เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ค่าล่วงเวลา เบี้ยขยัน วันลาวันหยุด
4
ประโยชน์ของการสำรวจค่าจ้างเงินเดือน
เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับโครงสร้างค่าจ้างเงินเดือน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับฐานค่าจ้างเงินเดือนและ/หรือเพื่อปรับค่าจ้างเดือนประจำปี เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการสรรหาและคัดเลือกบุคคลเข้าร่วมงานกับองค์กร ข้อมูลที่ได้ที่การสำรวจ จะจ้างตำแหน่งงานใด ว่าจ้างในราคาเท่าใด
5
กระบวนการในการสำรวจค่าจ้างเงินเดือน
การออกแบบสอบถามและส่งแบบสอบถามนั้นไปยังองค์กรที่เข้าร่วมโครงการสำรวจ แบบสอบถามที่ดีควรจะอธิบายถึงวิธีการออกอย่างละเอียด ควรกำหนดระยะเวลาที่แน่นอนในการส่งกลับ ข้อมูลจะต้องถูกเก็บเป็นความลับ ต้องกำหนดรหัสขององค์กรที่ร่วมสำรวจ เมื่อทำการประมวลผลการวิเคราะห์ข้อมูล ควรอย่างยิ่งในการส่งรายงานผลการวิเคราะห์ไห้กับทุกองค์กรที่เข้าร่วมโครงการสำรวจวิจัย
6
ตัวอย่างแบบสอบถามการสำรวจค่าจ้างเงินเดือน
ตัวอย่างแบบสำรวจเงินเดือนและสวัสดิการ ฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ บริษัท จำกัด ที่ตั้งสำนักงาน
7
คำแนะนำ กรุณากรอกแบบสอบถามให้ครบทุกข้อ ถ้าท่านแสดงความเห็นเพิ่มเติมควรแยกเขียนต่างหากแล้วส่งไปพร้อมกับแบบสอบถาม เพื่อความสมบูรณ์ในการออกแบบสอบถาม กรุณาส่งสำเนาแผนผังการจัดองค์การขอบเขตและหน้าที่ของแต่ละตำแหน่งงาน พร้อมกับแบบสอบถาม ข้อมูลที่กรอกควรเป็นข้อมูลที่มีผลบังคับใช้ถึงปัจจุบัน ข้อมูลบริษัทของท่านถูกเก็บเป็นความลับ (ระดับ D ในปัจจัยการรักษาความลับ)
8
คำบรรยายรายละเอียดลักษณะงาน
จะต้องมีการเปรียบเทียบภาระความรับผิดชอบของแต่ละตำแหน่งงานได้ใกล้เคียงกัน วัตถุประสงค์ของการเปรียบเทียบตำแหน่ง เพื่อประโยชน์ในการจัดกลุ่มงาน จัดทำโครงสร้างเงินเดือน ในกรณีที่ท่านมีข้อสงสัยหรือไม่เข้าใจคำถาม กรุณาติดต่อกับคุณสำรวจ เก่งวิจัย โทรศัพท์ xxx-xxxx ต่อ xxx
9
ข้อมูลที่ต้องการสำรวจ
ข้อมูลค่าจ้างเงินเดือน (salary and payroll) ข้อมูลสวัสดิการ (fringed benefits) ข้อคิดเห็นต่อการบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทน
10
บริษัทที่เข้าร่วมสำรวจ
หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ อื่นๆ
11
การจัดกลุ่มงาน งานบริหารทั่วไป ประธานบริหาร รองกรรมการผู้จัดการ
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ เลขานุการสำนักกรรมการผู้จัดการ
12
งานบัญชีหรือการบริหารการเงิน
ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชี ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายบัญชี ผู้จัดการส่วนบัญชี เจ้าหน้าที่บัญชี เจ้าหน้าที่การเงิน
13
งานผลิต/ศิลปกรรม - บรรณาธิการบริหาร - หัวหน้ากองบรรณาธิการ - บรรณาธิการข่าวอาวุโส - หัวหน้าบรรณาธิการ ผู้ช่วยฝ่ายบรรณาธิการข่าว - ผู้สื่อข่าวอาวุโส ผู้สื่อข่าว - ผู้อำนวยการฝ่ายศิลปกรรม ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายศิลปกรมม - ผู้จัดการส่วนศิลปกรรม ผู้ช่วยผู้จัดการส่วนศิลปกรรม - หัวหน้างานศิลปกรรม พนักงานศิลปกรรม
14
งานวิจัยและพัฒนา ผู้อำนวยการฝ่ายวิจัยและพัฒนา
ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายวิจัยและพัฒนา ผู้จัดการส่วนวิจัย/พัฒนา หัวหน้างานวิจัย/พัฒนา นักวิเคราะห์/นักวิจัย
15
งานธุรกิจ หัวหน้างานธุรกิจสัมพันธ์/งานกฎหมาย นักกฎหมาย ประชาสัมพันธ์
16
งานบุคลากร ผู้อำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคลกลาง
ผู้จัดการส่วนบริหารเงินเดือน ผู้จัดการส่วนสวัสดิการและแรงงานสัมพันธ์ ผู้จัดการส่วนฝึกอบรม/สัมมนา ผู้จัดการส่วนสรรหาบุคลากร ผู้จัดการส่วนพัฒนาองค์กร เจ้าหน้าที่บริหารงานบุคคล
17
การบรรยายสรุปลักษณะงาน
ผู้อำนวยการฝ่าย มีหน้าที่รับผิดชอบวางแผนบริหาร/ธุรกิจของฝ่ายงานรวมทั้งบริหารงานบุคลากรของฝ่ายงานให้เป็นไปตามนโยบาย ผู้ช่วยผู้อำนวยการ/ผู้จัดการฝ่าย มีวางแผนหน้าที่รับผิดชอบงาน/ธุรกิจ ที่ได้มอบหมายกำกับดูแลให้คำแนะนำแก่ผู้อำนวยการฝ่าย โดยการวางแผนกำหนดเป้าหมายวิธีการดำเนินงาน ควบคุม มอบหมาย สั่งการ ติดตาม แก้ไขปัญหาร่วมกับผู้อำนวยการ ผู้จัดการส่วน ให้ดำเนินการตามนโยบายและระเบียบปฏิบัติของบริษัท พร้อมกับกำหนดวิธีการดำเนินการ มอบหมาย ควบคุม สั่งการ ติดตาม
18
ข้อพิจารณาในการเลือก(ใช้/ซื้อ)
ความสามารถของผู้ตรวจ ต้องมีความรู้ความเข้าใจงานบริหารทรัพยากรมนุษย์และมีความสามารถในสาขาคณิตศาสตร์ สถิติเป็นอย่างดี รวมทั้งเทคนิคการทำวิจัยที่สำคัญต้องมีประสบการณ์ในการบริหารค่าจ้างเงินเดือน การออกแบบสอบถาม เป็นเครื่องมือช่วยให้ได้ข้อมูลครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ของการสำรวจ ผู้ทำการสำรวจมีความเข้าใจเนื้อหาและกระบวนการในการสำรวจ ถ้าเป็นเป็นได้ผู้สำรวจควรให้ตัวอย่างแบบสอบถาม
19
กลุ่มตัวอย่างและขนาดของตัวอย่าง เป็นการอธิบายถึงขอบเขตการสำรวจ เช่น ธุรกิจบริการ ธุรกิจการเงินการธนาคาร กลุ่มอุตสาหกรรม ค่าจ้างเงินเดือนและผลตอบแทนมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ขนาดของกลุ่มตัวอย่างเป็นอีกตัวแปรหนึ่งที่จะช่วยอธิบายถึงความน่าเชื่อถือของข้อมูล ค่าจ้างเงินเดือนในแต่ละตำแหน่งงานที่ต้องมีปริมาณมากพอ ผู้ร่วมโครงการสำรวจ ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นตัวแปรสำคัญมากเพราะมีการแยกแบบสอบถาม หรือข้อมูลที่ได้มากอาจใช้ไม่ได้เลย คือ ผู้ร่วมโครงการไม่มีความจริงใจในการให้ข้อมูล
20
Thank you
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.