งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรอบงานวิจัย โครงการวิจัยและนวัตกรรมชุมชนเพื่อ ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก กรณีศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย เป้าหมายรัฐบาลและตามระเบียบวาระของชาติ กลุ่มเรื่องนวักรรมเพื่อการพัฒนาพื้นที่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย รศ. กิตติ บุญเลิศนิรันดร์ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

2 ความเป็นมา ปี มทร.สุวรรณภูมิได้รับทุน สกว. เพื่อปรับระบบการจัดการงานวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ พื้นที่ปฏิบัติการหลัก ต.ทับน้ำ อ.บางปะหัน ต.สามเรือน อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา ต. วังยาง อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี ต. เกาะเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ. นนทบุรี

3 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ตำบลทับน้ำ อ.บางปะหัน จ.อยุธยา
การบริหารจัดการน้ำในชุมชน การลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเข้าสู่มาตรฐาน GAP วิเคราะห์ value chain มันเทศ พัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ในชุมชน ยกระดับการแปรรูปผลผลิตที่ได้มาตรฐาน และความเป็นผู้ประกอบการ

4 การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ตำบลสามเรือน อ.บางปะอิน จ.อยุธยา
สิ่งแวดล้อมชุมชน การจัดการ คุณภาพน้ำคลองโพธิ์ การสร้างมูลค่าจากเห็ดตับเต่าและ ยกระดับสู่มาตรฐาน การเชื่อมโยงสู่การท่องเที่ยวเชิง นิเวศ

5 การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ตำบลบ้านเกาะ อ./จ.อยุธยา
แปรรูปผลผลิตเพื่อลดความเสี่ยง พันธุ์ข้าวโพดเทียน “อยุธยา 60” และเทคโนโลยีการผลิต สร้าเกษตรกรต้นแบบและเครือข่ายเกษตรกร

6 ข้อเรียนรู้สำคัญ ชุมชนมีศักยภาพ และมีฐานทรัพยากรที่สร้างมูลค่าได้ ด้วยความรู้ เทคโนโลยีที่เหมาะสม การพัฒนามีหน่วยงานเกี่ยวข้องหลายภาคส่วน กลไกขับเคลื่อนที่สำคัญ คือ อบต. / ผู้นำชุมชน การยกระดับการผลิตสู่มาตรฐาน ต้องจัดการทั้งระบบตลอดสายโซ่ โดยใช้ตลาด (ผู้บริโภค) นำการผลิต การวัดความสำเร็จของงานวิจัย วัดที่การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ มหาวิทยาลัยต้องทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย การยกระดับการทำงานตอบโจทย์สำคัญของจังหวัด ต้องพัฒนากลไก การทำงานร่วมกันแบบบูรณาการ

7 กรอบการสนับสนุนทุนวิจัยต่อเนื่อง
โจทย์สำคัญระดับจังหวัด ในมิติเศรษฐกิจและอาชีพ การ จัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อมที่เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจและ อาชีพ เกษตรและอาหารปลอดภัย การท่องเที่ยวชุมชน แผนพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัดในมิติ เศรษฐกิจและอาชีพ ฐานข้อมูล แสดงสารสนเทศด้านการเกษตร

8 Value Chain กระบวนการผลิต การแปรรูป ขนส่ง
การพัฒนาเกษตรปลอดภัยจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เกษตรเคมี Value Chain Niche Market เกษตรปลอดภัย Mass Market เกษตรอินทรีย์ Local Market กระบวนการผลิต การแปรรูป ขนส่ง การตลาด ทุนความรู้ในการสร้างทางเลือกภาคเกษตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา Node CBR มทร.สุวรรณภูมิ สภาเกษตรกรจังหวัด การจัดการน้ำระดับพื้นที่ การปรับกระบวนการผลิต ลดต้นทุน เกษตรเคมี- กึ่งชีวภาพ- ชีวภาพ หาทางเลือกอื่น อาชีพเสริม การจัดการน้ำและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การปรับการผลิตสู่มาตรฐาน การแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและลดความเสี่ยง การท่องเที่ยว เชื่อมเครือข่ายเกษตรกรระดับพื้นที่ ต.บางชะนี อ.บางบาล ต.นาคู อ.ผักไห่ ต.หลักชัย อ.บางบาล ต.สามเรือน อ.บางปะอิน ต.ทับน้ำ อ.บางปะหัน ต.บ้านเกาะ อ.อยุธยา - เครือข่ายเกษตรกร 16 อำเภอ

9 กรอบแนวคิดการวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ เกษตรและอาหารปลอดภัย/ท่องเที่ยวชุมชน
ท่องเที่ยวกระแสหลัก ท่องเที่ยวทางเลือก ความรู้ เกษตรอินทรีย์ เกษตร GAP เกษตรทั่วไป ความรู้ Niche market Premium market Mass market Local market ตลาด พื้นที่เรียนรู้ ผู้ผลิต + บริโภค ยกระดับมาตรฐานการผลิตเกษตรปลอดภัย การจัดการระบบผลิตและส่งมอบ การสร้างมูลค่าเพิ่ม และลดความเสี่ยง อาหารปลอดภัย ความมั่นคงอาชีพเกษตรกรรายย่อย ความรู้/นวัตกรรมเพื่อพัฒนา ผลิตภัณฑ์/กระบวนการ/การจัดการ ตลาดนำการผลิต ตลาดเป็นพื้นที่ปฏิบัติการโดยกระบวนการมีส่วนร่วม วางระบบ สร้างกลไก และจัดการเพื่อยกระดับการผลิตของเกษตรกร และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภค

10 การขับเคลื่อนเกษตร อาหารปลอดภัย / ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ความรู้ / การเรียนรู้ มหาวิทยาลัย เครือข่ายวิจัยท้องถิ่น สกว. การเคลื่อนไหวทางสังคม การมีส่วนร่วมของภาคีพัฒนาในพื้นที่ปฏิบัติการ สภาเกษตรกร / อปท นโยบาย งานตาม Function ของหน่วยงาน การสนับสนุนทรัพยากร

11 การขับเคลื่อนเกษตร อาหารปลอดภัย / ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ชุมชนมีความสามารถในการแข่งขัน ที่สอดคล้องกับทุนทางสังคม และมีกลุ่มเครือข่ายที่เข้มแข็ง Strategic Partner “การบูรณาการ” การแก้ปัญหาโดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง - บุคลากร - ความรู้ ฐานข้อมูล ทรัพยากร ภาคราชการ มทร. สนับสนุนความรู้เชิงวิชาการ สังเคราะห์ความรู้ Node CBR : Community Bases Research สภาเกษตรกร สนับสนุนทุนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาชุมชน “Smart Community” พัฒนาคน สร้างความรู้ท้องถิ่น สร้างการเรียนการแก้ปัญหาโดยใช้ข้อมูลความรู้ / ปัญญา เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลง / แก้ปัญหาของชุมชน เชื่อมโยงเครือข่ายเกษตรกร ประสานหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้อง ………….?

12 กรอบแนวคิดการวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ เกษตรและอาหารปลอดภัย/ท่องเที่ยว
Stakeholder ประชารัฐ (ใคร ที่ไหน) ผู้บริโภค กลุ่มคนรักสุขภาพ/นักท่องเที่ยว สถานประกอบการ /อุตสาหกรรม เครือข่ายเกษตรกร/อปท. หน่วยงานพัฒนาและนโยบาย (ใครบ้าง) หน่วยงานจัดการและสังเคราะห์ความรู้ ชุมชน ต้นแบบ สามพรานโมเดล

13


ดาวน์โหลด ppt เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google