งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน
การจัดบริการสุขภาพ จังหวัดมหาสารคาม งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานเขตสุขภาพที่ 7

2 2. มีแผนบริหารตำแหน่ง (เต็ม 25 คะแนน)
1. ตัวชี้วัด ร้อยละของจังหวัดที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ จังหวัดมหาสารคาม ครบ 4 ประเด็น (100 คะแนน) เป้าหมาย : ร้อยละของจังหวัดที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 1. มีข้อมูล (เต็ม 25 คะแนน) 2. มีแผนบริหารตำแหน่ง (เต็ม 25 คะแนน) 1. แผนบริหารตำแหน่ง 2. แผนความก้าวหน้าฯ 3. แผนพัฒนาบุคลากร 3. มีการดำเนินงานตามแผน (เต็ม 25 คะแนน) 4. บุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ (เต็ม 25 คะแนน) รายการ จำนวน แก้ไขข้อมูลใบประกอบวิชาชีพ 100 % แก้ไขข้อมูลวุฒิการศึกษา บันทึกคำสั่งเลื่อนเงินเดือนใน HROPS จำนวนบุคลากรปฎิบัติงานจริง 4,966 คน จำนวนการสูญเสีย 37 คน ข้อมูลจำนวนตำแหน่งว่าง 131 ตน. ตำแหน่งว่างคงเหลือ <= 5 % 4.39 % เป้าหมาย จริง บุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ >= 71 % 84.02 % จริง เป้าหมาย 100 คะแนนที่ได้ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ บุคลากรผู้ปฏิบัติงาน ด้าน HR จ.มหาสารคามยังต้องมีการพัฒนาทักษะในการใช้โปรแกรม HROPS เช่น การเรียกใช้ข้อมูล รายงาน โปรแกรม HROPS ไม่ตอบสนองต่อการใช้งานของหน่วยงาน เช่น รูปแบบรายงาน ความถูกต้องของข้อมูล หรือ ฟังก์ชั่นในการใช้งาน โปรแกรม HROPS ไม่เสถียร หลุดบ่อย ในการใช้งานชั่วโมงเร่งด่วน และอินเตอร์เน็ตของหน่วยงานไม่ตอบสนองการใช้งาน ผู้ปฎิบัติงานต้องศึกษาการใช้งานโปรแกรม HROPS จากคู่มือ ที่ทาง สป. ได้จัดทำไว้ที่หน้าเว็ป จังหวัดต้องมีการชี้แจงปัญหาเป็นลายลักษณ์อักษร ที่เกิดจากตัวโปรแกรม HROPS ให้ทาง สป. รับทราบ ควรร่วมกับ IT ชี้แจงปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อผลักดันให้มีการปรับปรุงอินเตอร์เน็ตต่อไป

3 2. ตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุข (Happy Organization)
เป้าหมาย ร้อยละ 70 ของบุคลากรในหน่วยงานมีการประเมินดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinometer) เป้าหมาย ร้อยละ 70 ของหัวหน้ามีการประเมินสุขภาวะองค์กร (HPI) ผลงาน (1ต.ค.61-13ก.พ.62)

4 จำนวนหน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุข (Happy Organization)
Small Success -มีนักสร้างสุขและเครือข่าย HR Admin Happinometer -ร่วมพัฒนาองค์กรแห่งความสุขในรูปแบบคณะกรรมการและมีการประชุมสื่อสารทำความเข้าใจในระดับจังหวัด -บรรลุเป้าหมาย ไตรมาสที่ 1 : หน่วยงานมีการประเมิน Happinometerและ HPI ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ลำดับ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย รายการข้อมูล สสจ. (แห่ง) รพท. (แห่ง) รพช. (แห่ง) สสอ. (แห่ง) ผลงานภาพรวมจังหวัด (แห่ง) 1 ร้อยละ 70 ของหน่วยงานมีการประเมินดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinometer) (บุคลากรในหน่วยงานต้องประเมิน ร้อยละ 70 ขึ้นไป หน่วยงานนั้นจึงจะผ่าน) เป้าหมาย (หน่วยงาน) 12 13 27 ผลงาน (หน่วยงาน) อัตรา/ ร้อยละ 100 2 ร้อยละ 70 ของหน่วยงานในจังหวัดมีการประเมินสุขภาวะองค์กร (HPI) (หัวหน้างานในหน่วยงาน ต้องประเมิน ร้อยละ 70 ขึ้นไป หน่วยงานนั้นจึงจะผ่าน) ผลงาน (หน่วยงาน) 10 25 83.33 92.60 ปัญหา อุปสรรค 1. ปัญหาการเข้าระบบประเมินที่ล่าช้า หรือไม่สามารถเข้าใช้งานได้ 2. สป. ให้คำนิยามหัวหน้างานในการประเมิน HPI ที่ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดความสับสนในการประเมิน What, next? 1. การส่งคืนข้อมูลให้หน่วยงาน วิเคราะห์การประเมินความสุข ขององค์กร (Happinometer) และสุขภาพวะองค์กร (HPI) 2. การจัดทำแผนขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุข 3. ดำเนินงานตามแผนขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุข 4. มีความก้าวหน้าของการขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุขที่เป็นรูปธรรม เกิด Bright Spot เป็นองค์กรแห่งความสุข (Happy Organization) หน่วยงานที่ประเมิน HPI ไม่ผ่านเกณฑ์ 2 หน่วยงาน ได้แก่ โรงพยาบาลโกสุมพิสัย และโรงพยาบาลชื่นชม

5 ลงพื้นที่อำเภอประชาสัมพันธ์โครงการ Happy Money Program
Best Practice ลงพื้นที่อำเภอประชาสัมพันธ์โครงการ Happy Money Program ประชุมเครือข่ายนักสร้างสุขมหาสารคาม ชี้แจงแนวทางดำเนินงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน กิจกรรมเปิดตัว PMQA & Happy MOPH ประจำปี 2562 กิจกรรมสร้างสุข และกิจกรรมชมรมสร้างสุข ข้อมูล ณ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562

6 3. ตัวชี้วัด เขตสุขภาพมีการดำเนินงาน Digital transformation
ตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ด้าน Governance Excellence งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานเขตสุขภาพที่ 7

7 (ใบสั่งยาอิเล็กทรอนิกส์)
เกณฑ์เป้าหมาย : โรงพยาบาลเป้าหมาย มีการดำเนินงาน Digital Transformation เพื่อก้าวสู่การเป็น Smart Hospital ผ่านเกณฑ์ ระดับ 2 ขึ้นไป หัวข้อ เป้าหมาย (มหาสารคาม) ผลงาน ไตรมาสที่ 1 สิ้นปีงบประมาณ Queue Online โรงพยาบาล 13 แห่ง รับทราบแนวทางดำเนินงานทุกแห่ง ผ่านระดับ 2 ร้อยละ 50 Paper less (ใบสั่งยาอิเล็กทรอนิกส์) HIS Gateway งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานเขตสุขภาพที่ 7

8 การวิเคราะห์เชิงระบบ
Structure - มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนา Digital transformations มีการประชุม - คณะกรรมการ CIO มีการประชุม Information มีระบบติดตาม กำกับ วิเคราะห์ข้อมูล และสภาพปัญหา Intervention and Innovation มีการอบรม/จัดระบบพี่เลี้ยง และมีการคืนข้อมูลสู่หน่วยงานกลุ่มเป้าหมาย งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานเขตสุขภาพที่ 7

9 การวิเคราะห์เชิงระบบ Monitoring and Evaluation
Intregation มีการติดตามความก้าวหน้าร่วมกับการพัฒนาคุณภาพข้อมูล และ Service plan Monitoring and Evaluation - มี VDO Conference ติดตามการดำเนินงานอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง - มีการประชุม กวป. - มีการประชุมคณะกรรมการพัฒนา Digital transformations งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานเขตสุขภาพที่ 7

10 ประเด็นปัญหาสำคัญ 1. การจัดระบบการให้บริการที่หลากหลายของแต่ละหน่วยงาน ส่งผลให้มีปัญหาในการนำระบบคิวมาปรับใช้ 2. ขาดการสนับสนุน Hardware เช่น จอ LED ในการแสดงผลคิว 3. ขาดการสื่อสารกับประชาชนที่มาใช้บริการ การมีจุดประชาสัมพันธ์ในการให้การช่วยเหลือ เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าถึงและใช้งานระบบ งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานเขตสุขภาพที่ 7

11 ข้อเสนอแนะ 1. วิเคราะห์ขั้นตอนการให้บริการของโรงพยาบาลให้เหมาะสมและปรับโปรแกรมให้สอดคล้อง 2. จัดทำแผนการจัดหาอุปกรณ์ให้เพียงพอ 3. จัดให้มีจุดประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับระบบคิว งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานเขตสุขภาพที่ 7

12 4. ตัวชี้วัด มีการใช้ Application สำหรับ PCC ใน PCC ทุกแห่ง
ตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ด้าน Governance Excellence งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานเขตสุขภาพที่ 7

13 เกณฑ์เป้าหมาย : มีการใช้ PCC Application ใน PCC ทั้งหมดที่ขึ้นทะเบียน
คลินิกหมอครอบครัวตามเกณฑ์ สสป. ในปี 2562 หัวข้อ เป้าหมาย (มหาสารคาม) ผลงาน ไตรมาสที่ 1 สิ้นปีงบประมาณ PCC Application 15 ทีม รับทราบแนวทางดำเนินงานทุกแห่ง (กาฬสินธุ์เป็นต้นแบบ) มีการใช้งาน App ทุกแห่ง เขตสุขภาพที่ 7 มีมติกำหนดให้จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นทีม PCC นำร่อง ในการทดลองใช้งานแอปพลิเคชัน ในไตรมาสที่ 2 ซึ่งตอนนี้แอปพลิเคชันยังอยู่ในขั้นตอนการพัฒนาจากหน่วยงานส่วนกลาง งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานเขตสุขภาพที่ 7

14 ไม่พบหน่วยบริการที่มีวิกฤติระดับ 7
5. ตัวชี้วัด ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน เกณฑ์เป้าหมาย: ไม่เกินร้อยละ 4 ของจำนวนของหน่วยบริการในพื้นที่ ในไตรมาส 1 ปีงบประมาณ 2562 ไม่พบหน่วยบริการที่มีวิกฤติระดับ 7 รพ.ทุกแห่งมีแผนทางการเงิน(Planfin)ครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ ผ่านเกณฑ์ คะแนนคุณภาพบัญชีทางอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยบริการ ไตรมาส 1 ปี 2562 จำนวน 13 แห่ง ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 100 คะแนน จำนวน 12 แห่ง คิดเป็นร้อยละ ไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 15.38

15 ปัจจัยความสำเร็จ (Key Success)
ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญ มีการบูรณาการและกำหนดกรอบการทำงานร่วมกันระหว่างผู้เกี่ยวข้องโดยพิจารณาการเพิ่มรายได้ การควบคุมค่าใช้จ่าย และการควบคุมภายใน มีการนำเสนอสถานะทางการเงินการคลังในที่ประชุมคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังระดับจังหวัดและแก้ไขปัญหาหน่วยบริการที่ประสบปัญหาวิกฤติทางการเงิน มีการกำกับติดตามอย่างต่อเนื่องและมีตัวชี้วัดประเมินผลการปฏิบัติราชการ

16 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและโอกาสพัฒนา
ปัญหา/อุปสรรคที่พบ เนื่องจากปี 2562 มีการปรับผังการบันทึกบัญชีใหม่ เจ้าหน้าที่ยังไม่เข้าใจในระบบบัญชี จึงทำให้การบันทึกบัญชีมีความคลาดเคลื่อน บางโรงพยาบาลมีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบงานบัญชี ทำให้การบันทึกบัญชีมีความคลาดเคลื่อน ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและโอกาสพัฒนา หน่วยบริการทุกแห่งควรนำแผนประมาณการรายรับ-ควบคุมค่าใช้จ่าย ไปดำเนินการอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง เพื่อควบคุมรายได้ค่าใช้จ่าย ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

17 โรงพยาบาล ระดับ ขั้นปัจจุบัน วันหมดอายุ
6. ตัวชี้วัด ร้อยละของโรงพยาบาลมีคุณภาพ มาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 การวิเคราะห์สถานการณ์ เป้าประสงค์และเป้าหมาย ปี รพท.1 แห่ง ผ่าน HA 100 % รพช. 10 แห่ง ผ่าน HA 100 % 1.เพื่อสนับสนุนโรงพยาบาลให้ผ่านการรับรองคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 2.เพื่อควบคุมกำกับโรงพยาบาลที่จะหมดอายุการรับรองคุณภาพ ในปี 2562 ให้สามารถต่ออายุได้ตามกำหนด ผลงาน ปี 2561 Intervention : Innovation 1.การขับเคลื่อนการดำเนินงาน ร่วมกับ สรพ.โดยโครงการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือพื้นที่ โดยมี รพ.บรบือเป็นผู้จัดการเครือข่าย QLN 2.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ Shared Vision เครือข่ายความร่วมมือเพื่อพัฒนาคุณภาพสถานบริการ ผ่านระบบ GIN Conference ในวันที่ ม.ค. 62 3. KM : QLN เขต 7 & HACC โรงพยาบาล วันหมดอายุ วันเยี่ยมจาก สรพ. รพ.นาดูน 26 มี.ค.61 8-9 ส.ค.61 (ผ่าน) รพ.โกสุมพิสัย 20 ก.ค.61 31 พ.ค.-1 มิ.ย.61 (ผ่าน) รพ.เชียงยืน 10 ส.ค.61 18-19 ต.ค.61 (ผ่าน) รพ.บรบือ 7 ก.ค.61 ต.ค.61 (ผ่าน) ผลการพัฒนาและการขับเคลื่อนสู่ การรับรอง HA HA ขั้น 3 จำนวน 11 แห่ง ร้อยละ 100 1.การ Monitoring รพ.ที่จะหมดอายุการรับรอง 4 แห่ง 2.การเยี่ยมติดตาม รพ. 4 แห่ง ร่วมกับที่ปรึกษาพื้นที่ ลำดับ โรงพยาบาล ระดับ ขั้นปัจจุบัน วันหมดอายุ 1 มหาสารคาม s r1 29 พ.ค.60 2 พยัคฆภูมิพิสัย M2 22 ก.พ.62 3 บรบือ r3 7 ก.ย.61 4 วาปีปทุม F1 24 ก.ค.63 5 โกสุมพิสัย r2 20 ก.ค.61 6 แกดำ F2 8 ก.พ.62 7 กันทรวิชัย 17 ก.พ.63 8 เชียงยืน 10 ส.ค.61 9 นาเชือก 18 เม.ย.62 10 นาดูน 26 มี.ค.61 11 ยางสีสุราช 25 เม.ย. 62

18 ปัจจัยความสำเร็จ มีเครือข่ายความร่วมมือในพื้นที่ QLN โดย รพ.บรบือ เป็นผู้จัดการเครือข่าย มีที่ปรึกษาจาก สรพ.และเครือข่าย HACC ดูแล มีพี่เลี้ยงเครือข่ายพัฒนาคุณภาพจังหวัดมหาสารคาม ประกอบด้วยผู้ประสานงานคุณภาพ จาก สสจ และ รพ.ทุกแห่ง มีการมอบนโยบายและแนวทางการขับเคลื่อน PA โดย นพ.สสจ.กับผู้บริหาร รพ. ทุกแห่ง โรงพยาบาล วันหมดอายุ โรงพยาบาลแกดำ 9 ก.พ. 62 ส่งเอกสารแล้ว อยู่ระหว่างรอกำหนดวันเยี่ยม โรงพยาบาลพยัคฆภูมิพิสัย 22 กพ 62 โรงพยาบาลนาเชือก 18 เม.ย.62 อยู่ระหว่างการทำเอกสารประเมินตนเอง โรงพยาบาลยาวสีสุราช 25 เม.ย.62

19 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ/Best Practice
7. ตัวชี้วัด ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสป.ที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ70ของสสจ./ร้อยละ40ของสสอ.) ผลงานไตรมาส 1/2562 1.สสจ./สสอ.จัดทำแบบฟอร์ม F1-F5 ได้ครบถ้วน และส่งรายงานผ่าน Website ได้ทันภายในกำหนด 1.1 จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรได้ครบถ้วนทั้ง 14 หน่วยงาน 1.2 ประเมินองค์กรด้วยตนเองเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ ในหมวด 2, หมวด 4 1.3 จัดทำแผนพัฒนาองค์กรของหมวดที่ดำเนินการได้ครบถ้วน 1.4 จัดทำตัวชี้วัดที่สะท้อนผลลัพธ์ในหมวดที่ดำเนินการได้ครบถ้วน 2. ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 100 คะแนนเต็ม 4.25 คะแนน 2.1 หน่วยงานระดับ สสจ. 1 แห่ง = 4.25 คะแนน 2.2 หน่วยงานระดับ สสอ. 13 แห่ง คะแนนเฉลี่ย 4.18 คะแนน ร้อยละของหน่วยงานที่มีผลการดำเนินงานผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด (ระดับ 5) ไตรมาสที่ 1 ปี 2562 1. มีทีมพี่เลี้ยง (Dream team PMQA) ให้คำแนะนำ เรียนรู้ และพัฒนาร่วมกันกับสาธารณสุขอำเภอ 2. มีการบูรณาการการทำงานร่วมกับงานที่เกี่ยวข้องได้แก่ การบริหารยุทธศาสตร์และพัฒนาระบบสารสนเทศ(CIO),การดำเนินงานวิชาการสาธารณสุข,OG,ITA และ Happy MOPH ปัจจัยแห่งความสำเร็จ/Best Practice

20 ผลการตรวจประเมิน (Audit) รายหน่วยงาน

21 9. ตัวชี้วัด ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA
เกณฑ์เป้าหมาย : หน่วยงานผ่านเกณฑ์ฯ ระดับ3(5) (EB 1-EB 4) หน่วยงาน เป้าหมาย ผ่านเกณฑ์ประเมินITA ระดับ 3 (5) สสจ.และสสอ. 14 9 รพ. 13 12 ทั้งหมด 27 21 ร้อยละ 77.77 งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานเขตสุขภาพที่ 7

22 ข้อเสนอแนะหน่วยรับตรวจ
ปัญหาและอุปสรรค 1. การปรับเปลี่ยนเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบทำให้การดำเนินงานไม่ต่อเนื่อง 2. ด้านการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร หน่วยงานระดับสาธารณสุขอำเภอ (บางหน่วยงาน) ยังไม่มีเว็บไซต์ของหน่วยงานเพื่อนำข้อมูลข่าวสารเผยแพร่บนเว็บไซต์ในการตอบข้อคำถามหลักฐานเชิงประจักษ์ ข้อเสนอแนะหน่วยรับตรวจ 1. พัฒนาเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ 2. หน่วยงานเป้าหมายควรมีมาตรการ /แนวทางการควบคุมกำกับและติดตาม ของคณะกรรมการตรวจประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ ระดับจังหวัดในการตอบแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์และการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงาน

23 100% 100% 100% ประเด็นมุ่งเน้น การประเมินผล รอบที่ 1 กลุ่มเป้าหมาย
10. ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด ประเด็นมุ่งเน้น กำกับและติดตามผลการประเมินระบบควบคุมภายในด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Internal Audit : EIA) และการประเมินการตรวจสอบงบการเงินของหน่วยบริการ การประเมินผล รอบที่ 1 กลุ่มเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 1.มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน ประเมินระบบควบคุมภายใน 5 มิติ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์(EIA) รพท. 1 แห่ง รพช. 12 แห่ง รวม 13 แห่ง จัดทำคำสั่งครบ 2. การดำเนินการประเมินระบบควบคุมภายใน 5 มิติ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (EIA) ดำเนินการเข้าระบบ 3. หน่วยบริการตามกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสอบงบการเงิน 1. รพ.มหาสารคาม 2. รพ.โกสุมพิสัย 3. รพ.แกดำ ได้รับการตรวจสอบครบ 100% 100% 100%

24 รายการ ผลการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ
10. ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด รายการ ผลการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ หมวดสินทรัพย์ ลูกหนี้ 1. ไม่มีการยืนยันยอดระหว่างกันของงานบัญชี กับ งานประกัน 2. บันทึกลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลผิดหมวดบัญชี 3. ไม่บันทึกลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลบางตัว 4. บันทึกบัญชีจำนวนเงินผิด 5. รับรู้ลูกหนี้ไม่เป็นปัจจุบันตามนโยบายบัญชี 6. มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนในการปรับปรุงบัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1. ให้ตรวจสอบยอดระหว่างกันทุกสิ้นเดือนและรายงานผู้บริหารทุกเดือน/ไตรมาส 2. ให้ผู้บันทึกบัญชีและผู้จัดเก็บลูกหนี้ศึกษาและทำความเข้าใจนิยามของลูกหนี้ให้เข้าใจให้ถูกต้องและตรงกัน 3. ให้มีการตรวจสอบและวิเคราะห์รายการลูกหนี้ก่อนการบันทึกบัญชี 4. ให้ทำการบันทึกบัญชีให้เป็นปัจจุบัน 5. ให้ปรับปรุงบัญชีตามนโยบายที่กระทรวงกำหนด วัสดุ/ครุภัณฑ์ 1. ยอดคงเหลือไม่ตรงกับหน่วยงานพัสดุ เนื่องจากมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนและไม่มีการสอบทานระหว่างกัน 2. ยอดคงเหลือที่นำส่งบัญชีไม่ถูกต้อง เนื่องจากไม่มีการตรวจสอบข้อมูลที่ดึงมาจากโปรแกรมสำเร็จรูป 3. บันทึกบัญชีครุภัณฑ์ผิด เนื่องไม่มีการแยกรายการตามแหล่งของเงิน 1. ให้ผู้บันทึกบัญชีนำข้อมูลจากหน่วยงานพัสดุมาบันทึกบัญชี ไม่ควรจัดทำหรือหาข้อมูลมาบันทึกโดยไม่ผ่านการยืนยันจากหน่วยงานพัสดุ 2. ให้ตรวจสอบข้อมูลก่อนนำส่งบัญชี 3. ให้ลงบัญชีครุภัณฑ์ที่ซื้อจากเงินนอกงบประมาณแยกจากที่ซื้อจากเงินในงบประมาณ

25 ยาใช้ไป/เวชภัณฑ์มิใช่ยาใช้ไป/วัสดุวิทยาศาสตร์ใช้ไป และวัสดุอื่นใช้ไป
10. ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด รายการ ผลการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ หมวดหนี้สิน รายได้รับล่วงหน้า ไม่มีการปรับปรุงบัญชีรายได้รับล่วงหน้า ทำให้หมวดหนี้สินสูงเกินจริง ให้ดำเนินการตรวจสอบยอดให้ถูกต้องและปรับปรุง หมวดค่าใช้จ่าย ยาใช้ไป/เวชภัณฑ์มิใช่ยาใช้ไป/วัสดุวิทยาศาสตร์ใช้ไป และวัสดุอื่นใช้ไป ยอดใช้ไประหว่างข้อมูลในงบการเงินกับรายงานคงเหลือจากคลังมีความคลาดเคลื่อน ให้มีการตรวจสอบยอดระหว่างกันและปรับยอดให้ถูกต้องตรงกัน ค่าเสื่อมราคา ข้อมูลทรัพย์สินในงบการเงินและทะเบียนคุมของพัสดุไม่ตรงกัน ส่งผลให้ข้อมูลค่าเสื่อมราคามีความคลาดเคลื่อน ให้ฝ่ายพัสดุรายงานค่าเสื่อมราคาให้กับงานบัญชีเพื่อยืนยันยอดค่าเสื่อมราคาในงบการเงิน รายการปรับปรุง/อื่นๆ รายการปรับปรุง มีการปรับปรุงบัญชีโดยไม่ได้รับอนุมัติจากผู้บริหาร การปรับปรุงบัญชีควรได้รับการอนุมัติจากผู้มีอำนาจก่อนทุกครั้งและลงนามในใบสำคัญการบันทึกบัญชี

26 ผลกระทบต่อรายงานทางการเงิน ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น
10. ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด ผลกระทบต่อรายงานทางการเงิน 1. งบการเงินแสดงรายการไม่ครบถ้วน ถูกต้อง และไม่เป็นปัจจุบันไม่สามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจได้ 2. หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกขาดความเชื่อมั่นในงบการเงิน 3. ลูกหนี้ที่ปรากฏในงบการเงินไม่ถูกต้องตามข้อเท็จจริงส่งผลต่อการบริหารจัดการและการรักษาสภาพคล่องทางการเงินรวมถึงความน่าเชื่อถือของรายงานทางการเงินที่นำไปใช้เพื่อประโยชน์ต่อการตัดสินใจ ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น ผู้บริหารให้ความสำคัญในความทันเวลาของการส่งงบการเงิน หน่วยบริการให้ความร่วมมือในการประเมินงบการเงิน ภาคีเครือข่ายระดับจังหวัดและผู้ประสานงานมีความเข้มแข็งทำงานเป็นทีม โรงพยาบาลโกสุมพิสัยคิดค่าเสื่อมราคาได้ถูกต้องตรงตามหลักการบัญชี

27 Thank you


ดาวน์โหลด ppt คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google