ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAdèle Denis ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ เรื่อง ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ โดยการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ นางสาวจิราภรณ์ อารยะศิลปธร
2
Purposes of the Study 1. 2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการเรื่อง ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ ของนักศึกษาระดับปวช. 2/5 สาขาการตลาด โดย การเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียน วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ เรื่อง ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ ของนักศึกษาระดับปวช. 2/5 สาขาการตลาด โดยการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ เรื่อง ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ ของนักศึกษาระดับปวช. 2/5 สาขาการตลาด โดยการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD วัตถุประสงค์ของการศึกษา
3
Scope of Research ขอบเขตการวิจัย ประชากร กลุ่มตัวอย่าง ด้านเนื้อหา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการจัดการเรียนรู้แบบใช้การเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD เรื่องปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ ด้านเนื้อหา ขอบเขตประชากร ได้แก่ นักศึกษาระดับชั้นปวช.2 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ จำนวน 270 คน ประชากร นักศึกษาระดับปวช. 2สาขาวิชาการตลาด จำนวน 36 คนจากการสุ่มแบบเจาะจง กลุ่มตัวอย่าง ขอบเขตการวิจัย
4
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD
Conceptual Framework ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบด้วย 1) ตัวแปรอิสระ ได้แก่ การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วมมือ โดยใช้เทคนิค STAD 2) ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ และความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ 2. ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียน กรอบแนวคิด
5
Research Results ผลการตรวจสอบประสิทธิภาพ (E1/ E2) ของการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นการเรียนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD รายการทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ แบบฝึกหัดระหว่างเรียน (E1) 20 15.38 76.90 แบบทดสอบหลังเรียน (E2) 10 7.61 76.10 ผลการวิจัย
6
Research Results ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ก่อนเรียนและหลังเรียนของกลุ่มทดลอง ผลการวิจัย (โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS)
7
ผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน
Research Results ผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ของกลุ่มทดลอง การทดสอบ N X S.D. t Sig. ก่อนเรียน 36 5.56 1.52 หลังเรียน 7.61 0.99 8.989 0.000** ผลการวิจัย
8
ผลการศึกษาความพึงพอใจ
Research Results ผลการศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD ผลการศึกษาความพึงพอใจ จำนวน (ข้อ) 10 ค่าเฉลี่ย 4.14 ระดับความพึงพอใจ มาก ผลการวิจัย
9
Research Results สรุปผลการวิจัย
ประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนแบบร่วมมือ เทคนิคการแข่งขันระหว่างกลุ่มด้วยเกมร่วมกับแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างและพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพเฉลี่ยร้อยละ 76.9/76.1 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของกลุ่มทดลองด้วยนักศึกษากลุ่มทดลองวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ เรื่อง ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ค่าเฉลี่ยคะแนนทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนมีค่ามากกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สรุปผลการวิจัย
10
Research Results ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือSTAD โดยรวมอยู่ในระดับมาก 1. ด้านการเรียนแบบกลุ่มร่วมมือทำให้ผู้เรียนกระตือรือร้น 2. ด้านนักเรียนรู้สึกดีที่ได้ช่วยเหลือเพื่อน หรือได้รับการช่วยเหลือจาก เพื่อน 3. ด้านนักเรียนรู้สึกยินดีที่เพื่อนๆ ในชั้นเรียนมีความเข้าใจในเนื้อหา แม่นยำขึ้น
11
Suggestion ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ
ควรนำกระบวนการเรียนการสอนแบบ STAD ไปศึกษากับกลุ่มตัวอย่างอื่น เช่น นักศึกษาระดับชั้นปวส. ซึ่งเป็นวัยที่พร้อมรับการเรียนรู้ เพื่อฝึกกระบวนการทำงานกลุ่ม และช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อไป ควรมีการเปรียบเทียบแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นไปสอนเปรียบเทียบกับวิธีสอนอื่นๆ ในเนื้อหาเดียวกันและชั้นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผลต่อไป การจัดกลุ่มผู้เรียนสำหรับการสอนแบบกลุ่มร่วมมือ ผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้องตรวจสอบข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างให้ละเอียด เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่คละความสามารถจริงๆ คือ ได้คนเก่ง คนปานกลาง และคนอ่อน ที่มีความสามารถแตกต่างกันชัดเจน ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ
12
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.