ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยJutta Peters ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
ผู้ป่วยทั้งประเทศ 125,364 ราย เสียชีวิต 22 ราย ผู้ป่วยเขตสุขภาพที่ 9 13,606 ราย อัตราป่วยสูงเป็นลำดับที่ 4 ของประเทศ เสียชีวิต 13 ราย (นครราชสีมา 12 ราย สุรินทร์ 1 ราย) ผู้เสียชีวิต ส่วนใหญ่อายุ 65 ปีขึ้นไป (จ.นครราชสีมา ร้อยละ 66.67)
2
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ เขตตรวจสุขภาพที่ 9 เปรียบเทียบกับค่าพยากรณ์ ค่ามัธยฐาน 5 ปีและ พ.ศ.2559
ค่าพยากรณ์ ประมาณ 9453 ราย
3
อัตราป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ เขตสุขภาพที่ 9 จำแนกรายจังหวัด พ.ศ.2559
5
อัตราป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา จำแนกกลุ่มอายุ พ.ศ.2559
6
จำนวนตายโรคไข้หวัดใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ.2557 - 2559
จำนวนตายโรคไข้หวัดใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ
7
Subtype ที่พบในประเทศไทย พ. ศ
Subtype ที่พบในประเทศไทย พ.ศ.2559 ส่วนใหญ่เป็น B A(H1N1)pdm09 และ A(H3)
8
จำนวนผู้ป่วย ILI จังหวัดนครราชสีมา สัปดาห์ที่ 41
9
ข้อมูลจากการสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิต พ.ศ.2557-2558 (27 ราย)
ประวัติการมีโรคประจำตัว/เป็นกลุ่มเสี่ยง ผู้เสียชีวิตมีโรคประจำตัว ร้อยละ 70.4 ไม่มีโรคประจำตัว ร้อยละ 11.1 ไม่ทราบ ร้อยละ 18.5
10
โรคประจำตัว/ประวัติเสี่ยง
Hypertension DM,HT,DLP,CKD,COPD วัณโรคปอด (ร่วมกับโรคอื่น ๆ ตั้งครรภ์ 30 wk ,รักษาหอบหืดแต่ไม่ต่อเนื่อง Alcoholic chronic,HIV Epileptics HIV / Asthma น้ำหนักมากกว่า 100 กก
11
ประวัติการได้รับวัคซีน
- ได้รับ ราย คิดเป็นร้อยละ 3.7 - ไม่ได้รับวัคซีน ราย คิดเป็นร้อยละ 66.7 - ไม่ทราบ ราย คิดเป็นร้อยละ 29.6
12
การได้รับยา Oseltamivir (ส่วนใหญ่ได้รับที่ รพ.มหาราช)
- ได้รับยา 16 คน คิดเป็นร้อยละ (หลังจากป่วย 1 – 12 วัน เฉลี่ย 5.7 วัน) - ไม่ได้ยา 4 คน คิดเป็นร้อยละ 14.8 - ไม่มีข้อมูล 6 คน คิดเป็นร้อยละ 22.2
13
การประเมินความเสี่ยงต่อการระบาดและเสียชีวิต พ.ศ.2559
เป็นโรคระบาดในฤดูหนาว ปีนี้กรมอุตุนิยมวิทยาพยากรณ์ว่าจะกาศจะหนาวกว่าปีที่ผ่านมา มีการระบาดของ Subtype A(H1N1pdm2009)เพิ่มขึ้น พบผู้ป่วยส่วนใหญ่อายุน้อยกว่า 15 ปี (อาจมีอาการรุนแรงในคนที่ มีความต้านทานโรคต่ำ) 4. ผู้ป่วยสูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่ได้รับวัคซีน อาจมีอาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้
15
การประเมินความเสี่ยงต่อการระบาดและเสียชีวิต พ. ศ. 2559(ต่อ) 5
การประเมินความเสี่ยงต่อการระบาดและเสียชีวิต พ.ศ.2559(ต่อ) 5. วัคซีนมีปริมาณจำกัด และให้ฉีดเฉพาะกลุ่มที่มีอาการเสี่ยงต่อการเกิดโรคและจะมีอันตรายรุนแรง ดังนั้นอาจจะมีการระบาดในกลุ่มคนทั่วไปได้ 6. จากระบบเฝ้าระวังอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ( Influenza like illness : ILI ) พบว่ามีแนวโน้มมีเพิ่มขึ้น 7. หากได้รับยาต้านไวรัส เกิน 48 ชั่วโมง หลังเริ่มมีอาการ อาจจะไม่มีผลต่อการรักษา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.