ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
โครงการชุมชนจัดการสุขภาพโดยใช้แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ตามบริบทพื้นที่สู่ระบบสุขภาพอย่างยั่งยืน Service Excellence กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
2
การพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิจังหวัดสมุทรปราการ
1.การดำเนินงานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ( District Health Board : DHB) 2.การดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster :PCC ) 3.การดำเนินงาน รพ.สต.ติดดาว 4.การดำเนินงานงานสุขศึกษาปี 2560 5.การดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน 6.การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล(HA)
3
งบประมาณดำเนินงาน ปี60
4
โครงการชุมชนจัดการสุขภาพ
1. ร้อยละของพื้นที่ที่มีคลินิกหมอครอบครัว 2. ร้อยละของรพสต.ในแต่ละอำเภอที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพรพ.สต.ติดดาว ที่ ชื่อโครงการ INPUT เป้าหมาย 1 โครงการชุมชนจัดการสุขภาพ โดยใช้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามบริบทพื้นที่สู่ระบบสุขภาพอย่างยั่งยืน ตั้งไว้ 257,000 บ. ใช้จริง 223,309 บ. งบ สป = 98.5 % PCCทุกแห่ง รพ.สต.ทุกแห่ง
5
ร้อยละครอบครัวที่มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด
ชื่อโครงการ INPUT เป้าหมาย 2 โครงการตามแผนพัฒนาจังหวัด(เสริมสร้างสุขภาพอนามัยและพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน) งบประมาณ 5.5 ล้าน ใช้จริง 5,416, บาท งบพัฒนาจังหวัด = 98.4 % 504 หมู่บ้าน 3 โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม./อสค. งบกรมสนับสนุน 360,000 บาท ใช้จริง 360,000 บาท = 100 % อสค. 6,816 คน อสม.นักจัดการ 600 คน
6
ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล( HA)
ชื่อโครงการ INPUT เป้าหมาย 4 โครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล( HA) งบ สป 50, บาท ใช้จริง 49, บาท = 98.5 % รพ.ทุกแห่ง รพ.สต.ในแต่ละอำเภอผ่านเกณฑ์ระดับการพัฒนาคุณภาพ 5 โครงการพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการด้านสาธารณสุข(กิจกรรมงานด้านสุขศึกษา) งบ สป 129,600 บาท ใช้จริง 112,699 บาท = % รพ.สต.เป้าหมาย
7
การดำเนินงานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต (District Health Board : DHB) (พอช.)
อำเภอบางพลี พื้นที่ต้นแบบ ปี 2559 อำเภอเมือง พื้นที่ต้นแบบ ปี 2560 แผนพัฒนา เรื่อง - การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก - การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
8
ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงาน
ขาดข้อมูลที่เป็นปัญหาคุณภาพชีวิตไม่เชื่อมโยงกันทั้งอำเภอ ขาดความเชื่อมต่อของคณะกรรมการตั้งแต่ ระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ ขาดการขับเคลื่อนงานที่ต่อเนื่อง งบประมาณได้รับการจัดสรร ไม่ได้ดำเนินงานตามกิจกรรม ในโครงการ
9
กรอบแนวทางการดำเนินงาน พอช.
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระบบสุขภาพอำเภอ(DHB) ประเด็นงานตามปัญหาพื้นที่ UCCARE ระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ประเมินผลโดยใช้ DHS-PCA ดำเนินงานทุกอำเภอ ประเมินผ่าน 3 อำเภอ
11
จังหวัดสมุทรปราการ ปี 2560
การดำเนินงาน จังหวัดสมุทรปราการ ปี 2560
12
พัฒนาต้นแบบ PCC เขตเมืองระดับประเทศ PCCบางแก้ว อำเภอบางพลี
13
การดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัว
1.การสนับสนุนการดำเนินงานของแม่ข่าย ด้านระบบการสนับสนุนและด้านวิชาการ ใช้ Starter kit ในทีมFCT 6 แห่ง (ราชา ภานุรังสี บางด้วน เทพารักษ์ ปู่เจ้า บางแก้ว) มีการพัฒนาทีม FCT โดยกระบวนการ CBL เป็นที่เรียนรู้PCCอื่น 2.การจัดระบบบริการ สมุทรปราการโมเดล พัฒนาโครงสร้างทีมหมอครอบครัว ที่เป็นเครือข่าย เชื่อมต่อถึงครอบครัว 3.การจัด Service Package 5 กลุ่มวัยดูแล โดย FCT ทุกทีม 4.จัดระบบ Line ในการติดต่อสื่อสารในและระหว่างทีม 5.ระบบส่งต่อ ใช้ ระบบ green channel Thai refer COC
14
ปัญหาการดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัว
การจัดการข้อมูลยังไม่ครบถ้วน ไม่ครอบคลุม ตามกลุ่มเป้าหมาย ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลพื้นฐานในพื้นที่รับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ และขาดการวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานของพื้นที่ ขาดการสนับสนุนการดำเนินงานจาก CUP เช่น บุคลากรทาง การแพทย์ , เครื่องมือทางการแพทย์ หน่วยบริการปฐมภูมิขาดความรู้ ความเข้าใจที่ชัดเจนในการ ดำเนินงาน PCC
15
แผนการดำเนินงานปี 2561 ประเมินผลและถอดบทเรียน PCC 3 แห่งที่ดำเนินการแล้ว พัฒนาสมรรถนะบุคลากร ด้านสหเวชศาสตร์ครอบครัว ในกลุ่มนักสหเวชศาสตร์ชุมชน และ อสม.พนักงาน สหเวชศาสตร์ชุมชน ด้วยชุด Starter kit /อบรม เสริมความรู้ ตามส่วนขาด ขยายเครือข่ายนักสหเวชศาสตร์ให้ครอบคลุม ทุกทีมในชุมชน
16
การพัฒนา รพ.สต.ติดดาวจังหวัดสมุทรปราการ
1.จัดตั้ง ทีมพัฒนาคุณภาพ ระดับจังหวัด 2.พัฒนา ทีมคุณภาพ รพ.สต.ระดับจังหวัด/อำเภอ 3.ติดตามประเมิน ผลงานตามเกณฑ์ทุกรพ.สต. 4.คัดเลือก รพ.สต.ติดดาว ระดับจังหวัด เพื่อเป็นตัวแทน ระดับเขต 5.พัฒนา ให้เป็นต้นแบบ ระดับเขต ผลการพัฒนารพ.สต.ติดดาว เป้าหมาย ผ่านเกณฑ์คุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ระดับ 5 ดาว > 10 % ผลการประเมิน ผ่านเกณฑ์ 5 ดาว 10 แห่ง คิดเป็น % รพสต. ติดดาวระดับเขต * รพ.สต. บางแก้ว อำเภอบางพลี
17
ปัญหาการดำเนินงาน 1. เกณฑ์คุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ปรับบ่อย ขาดความชัดเจน
2. เจ้าหน้าที่ไม่เข้าใจเกณฑ์คุณภาพ รพ.สต.ติดดาว 3. ระบบข้อมูลของ รพ.สต. ขาดข้อมูลทะเบียนครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน ไม่มีการคืนข้อมูลให้พื้นที่ 4. ขาดการสนับสนุนการดำเนินงานจากสหวิชาชีพของแม่ข่าย ทั้งระบบสนับสนุน และด้านวิชาการ
18
แผนปี 2561 ประชุมชี้แจงเกณฑ์คุณภาพ รพ.สต. ปี 2561 อบรม ครู ก และ ครู ข
เป้าหมาย ปี : รพ.สต.ผ่านเกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ร้อยละ 25 ประชุมชี้แจงเกณฑ์คุณภาพ รพ.สต. ปี 2561 อบรม ครู ก และ ครู ข ตั้งทีมพัฒนา/ประเมิน ระดับจังหวัด และอำเภอ เพื่อสร้างระบบ การสนับสนุนตามบทบาทแม่ข่าย รพ.สต. ประเมินตนเองและพัฒนาตามส่วนขาด ประเมิน รพ.สต.ติดดาว ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด และระดับเขต ถอดบทเรียนในการพัฒนา รพ.สต.ติดดาว ปี 2561
19
การดำเนินงานสุขศึกษาปี 2560
เป้าหมาย รพศ.รพท.รพช.ทุกแห่ง ผ่านเกณฑ์ระบบบริการสุขภาพ(ด้านสุขศึกษา)ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผ่านเกณฑ์การประเมินไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ผลงานการดำเนินงาน รพศ.รพท.รพช.ทุกแห่งผ่านเกณฑ์ระบบบริการสุขภาพ(ด้านสุขศึกษา)ร้อยละ70 หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ70
20
การดำเนินงานงานสุขศึกษาปี 2560
ปัญหาอุปสรรค ขาดการสนับสนุนจากหน่วยงานองค์กรท้องถิ่นและองค์กรเอกชน ประชาชนจะให้ความสำคัญในเรื่องเศรษฐกิจมากกว่า เรื่องสุขภาพ ปัจจัยความสำเร็จ ความรู้ความสามารถของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในการดำเนินงาน
21
แผนการดำเนินงานงานสุขศึกษาปี 2561
พัฒนาศักยภาพจนท.สาธารณสุขหลักสูตร นักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพแก่อสม. การประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพในกลุ่มวัยเรียน/ วัยทำงาน
22
Healthy literacy จาก Role Model
รพ.สต. 1 – 6 เดือน FCT FCT FCT อสม. อสม. คัดกรอง NCD ปกติ เสี่ยง ป่วย การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Healthy literacy อสม. อสม. เกิดกระบวนการเรียนรู้จากบุคคลต้นแบบและจากกลุ่ม กสค. กสค. กสค. อสม.ใช้กระบวนการเรียนรู้จากกลุ่มมาปฏิบัติกับ กลุ่ม อสม/อสค. 6 – 12 เดือน *****เป้าหมาย รพ.สต.ละ 1 ทีม เป็นอย่างน้อย (FCT 1 ทีม / อสม. 1 ทีม)
23
เป้าหมาย 504 หมู่บ้าน ผลการดำเนินงาน : 100%
การดำเนินงานหมู่บ้านจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ 5 กลุ่มวัย เชื่อมโยง Service plan และหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เป้าหมาย หมู่บ้าน ผลการดำเนินงาน : 100% 1.ภาคีเครือข่ายไม่เข้มแข็ง 5 % 2.แผนงานโครงการจากหมู่บ้านจัดการ ไม่ได้รับการสนับสนุน จาก อปท. 3.เจ้าหน้าที่สาธารณสุขบางพื้นที่ขาดความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกระบวนการหมู่บ้านจัดการ
24
แผน ปี 2561 1.พัฒนาเครื่องมือการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพตำบลและอำเภอ ( เช่น SRM ,ธรรมนูญตำบล, UCARE) 2.ขยายตำบลต้นแบบ/หมู่บ้านต้นแบบระบบจัดการสุขภาพชุมชนที่เข้มแข็ง
25
โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม./อสค.
เป้าหมาย : อสม. 7,800 คน อสค. 6,800 คน ผลงาน : อบรมฟื้นฟูความรู้ อสม. พัฒนาศักยภาพ อสค.และประเมินผล ปัญหาอุปสรรค การค้นหากลุ่มเป้าหมาย อสค.มีความล่าช้า - การส่งข้อมูลเข้าในระบบฐานข้อมูล - ผู้ป่วยไม่มีญาติต้องหาเพื่อนบ้านมาเป็นอสค. ผู้สมัครเป็น อสม.ใหม่ มีน้อย
26
Engine: Inclusive Growth Engine (การลดความเหลื่อมล้ำ เน้นการ
อสม.4.0 สมุทรปราการ Engine: Inclusive Growth Engine (การลดความเหลื่อมล้ำ เน้นการ กระจายประโยชน์สู่ประชาชน) Final Goal: อสม. เชี่ยวชาญในการดูแลผู้ป่วยโรค Stroke และ โรค Stemi Final Goal อสม.มีความเชี่ยวชาญในการดูแลผู้ป่วย Stroke และ โรคStemi Goal -อสม.เชี่ยวชาญฯ คน -อสค. 6,500 คน 2561 2565 Action 1. บูรณาการทำงานกับ NCD PCC 2. ใช้ App คลังความรู้ อสม. 3. ใช้ App. สนับสนุนการ ทำงาน อสม. เช่น องค์ความรู้ HL,สมุนไพร การเฝ้าระวังโรค การประเมินความสี่ยง คัดกรอง DM/ HT 4.สร้างกลุ่มLine เพื่อสื่อสารกับกลุ่ม อสม./อสค. 5.พัฒนา อสค. /อบรม อสม. ต่อเนื่อง
27
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
เป้าหมาย : รพศ. /รพท. / รพช. ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ผลงาน : ผ่านเกณฑ์คุณภาพ HA QA Lab X-ray ร้อยละ 100 ปัญหาอุปสรรค 1.ขาดการสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาคุณภาพรับรอง 2.จนท.ยังมีองค์ความรู้ไม่เพียงพอในการปฎิบัติงาน 3.จนท.ไม่เพียงพอกับเกณฑ์ในการประเมินพัฒนาระบบคุณภาพ
28
แผนปี 2561 และ รพ.บางบ่อ เตรียมการประเมินHA รพ.บางเสาธง
Re-Accredit ครั้งที่2 - รพท.สมุทรปราการ และ รพ.บางบ่อ เตรียมการประเมินHA รพ.บางเสาธง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.