ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
“ตัวอย่างคำวินิจฉัยอุทธรณ์และร้องทุกข์
โครงการอบรมการดำเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ร้องทุกข์ และความรับผิดทางละเมิด สำหรับนิติกรหรือผู้ปฏิบัติหน้าที่นิติกร “ตัวอย่างคำวินิจฉัยอุทธรณ์และร้องทุกข์ ของคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม” วันพุธที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๐ ณ โรงแรมเจริญโฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี พรชัย เมธาภรณ์พงศ์ อุบล ชุมวิสูตร
2
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ก.พ. (คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน) ผู้จัดการงานบุคคลของฝ่ายบริหาร ทำหน้าที่ครอบคลุม ๓ หน้าที่ ผู้พิทักษ์ระบบคุณธรรม ผู้จัดโครงสร้างส่วนราชการ
3
พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ก.พ (คณะ ก.ก. ข้าราชการ พลเรือน) ผู้จัดการงาน บุคคลของ ฝ่าย บริหาร ก.พ.ค. (คณะ ก.ก. พิทักษ์ ระบบคุณธรรม) พิทักษ์ระบบ คุณธรรม ก.พ.ร (คณะ ก.ก.พัฒนาระบบราชการ) ผู้จัดโครงสร้างส่วนราชการ พัฒนานวัตกรรมทางการบริหาร และประเมินผลการปฏิบัติราชการของกระทรวง กรม ตามแผนปฏิบัติราชการ ฯลฯ
4
คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม
มาตรา ๒๔ ให้มีคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม คณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “ก.พ.ค.” ประกอบด้วยกรรมการจำนวนเจ็ดคน ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตามมาตรา 26 คณะกรรมการ ก.พ.ค. ต้องทำงานเต็มเวลา ให้เลขาธิการ ก.พ. เป็นเลขานุการ ก.พ.ค.
5
คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม
มาตรา ๒๙ กรรมการ ก.พ.ค. มีวาระการดำรงตำแหน่งหกปีนับแต่วันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้ง และให้ดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว ให้กรรมการ ก.พ.ค. ซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าจะได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งกรรมการ ก.พ.ค. ใหม่
6
การวางมาตรการพิทักษ์ระบบคุณธรรม
แยกองค์กรออกกฎกับตรวจกฎ องค์กรบังคับใช้กฎกับรับร้องทุกข์องค์กรสั่งลงโทษกับอุทธรณ์ หลักประกันความเป็นมืออาชีพ คุณสมบัติ : เทียบเท่าตุลาการศาลปกครองชั้นต้น ทำงานเต็มเวลา หลักประกันความเป็นธรรม การวางมาตรการพิทักษ์ระบบคุณธรรม ให้มีคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) ระยะเวลาสูงสุดของการพิจารณาอุทธรณ์ วัน ทุกข์ที่เกิดจากปลัดกระทรวง,รมต. หรือ นรม. ให้ร้องต่อ ก.พ.ค. ก.พ.ค.มีมติประการใดให้ผู้บังคับบัญชาดำเนินการนั้น ไม่พอใจ ฟ้องศาลปกครองสูงสุดได้ หลักประกันความเป็นอิสระในการใช้ดุลพินิจของ ก.พ.ค. ที่มา : คกก.คัดเลือก ประธานศาลปกครองสูงสุด รองประธานศาลฎีกา กรรมการ ก.พ. ผู้ทรงคุณวุฒิ เลขาธิการ ก.พ. ลักษณะต้องห้าม - เป็น ขรก. พนง.ของรัฐ ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ฯลฯ วาระ: 6 ปีเป็นได้ครั้งเดียว ฝ่ายบริหารปลดไม่ได้ ลธ.กพ.เป็นเพียงเลขานุการ อำนาจหน้าที่ กำกับตรวจสอบให้การบริหาร “คน” เป็นไปตามระบบคุณธรรม กำกับตรวจสอบความชอบกฎหมายของกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่งของ ก.พ./สรก./ผบ. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์และเรื่องร้องทุกข์ กรอบการพิจารณา หลักการพื้นฐาน พ.ร.บ./กฎหมายลูกบท 6 6
7
อำนาจหน้าที่ของ ก.พ.ค. ๒. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ตามมาตรา ๑๑๔
มาตรา ๓๑ ๑. เสนอแนะต่อ ก.พ. หรือองค์กรกลางบริหารงานบุคคลอื่น เพื่อให้ ก.พ. หรือองค์กรกลางบริหารงานบุคคลอื่น ดำเนินการจัดให้มีหรือปรับปรุงนโยบาย การบริหาร ทรัพยากรบุคคลในส่วนที่เกี่ยวกับการพิทักษ์ระบบคุณธรรม ๒. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ตามมาตรา ๑๑๔ ๓. พิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ ตามมาตรา ๑๒๓ (ต่อ)
8
อำนาจหน้าที่ของ ก.พ.ค. (ต่อ) มาตรา ๓๑
๔. พิจารณาเรื่องคุ้มครองระบบคุณธรรมตามมาตรา ๑๒๖ ๕. ออกกฎ ก.พ.ค. ระเบียบ หลักเกณฑ์ และวิธีการเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ กฎ ก.พ.ค. เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้ 6. แต่งตั้งบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ตามที่ ก.พ.ค. กำหนดเพื่อเป็นกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์หรือกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์
9
การอุทธรณ์ หมายถึง การร้องขอความเป็นธรรมในกรณีที่ถูกลงโทษ ทางวินัย หรือถูกให้ออกจากราชการเพื่อให้ผู้มีอำนาจ คือ คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) ได้พิจารณาทบทวนคำสั่งลงโทษหรือคำสั่งให้ออกของผู้บังคับบัญชา
10
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอุทธรณ์ฯ
๑. พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ หมวด ๙ การอุทธรณ์ มาตรา ๑๑๔ - ๑๒๑ ๒. กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการอุทธรณ์และการพิจารณา วินิจฉัยอุทธรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๑
11
พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
หมวด 9 การอุทธรณ์ มาตรา ๑๑๔ ผู้ใดถูกสั่งลงโทษตามพระราชบัญญัตินี้ หรือ ถูกสั่งให้ออกจากราชการตามมาตรา ๑๑๐(๑)(๓)(๕)(๖)(๗)และ(๘) ผู้นั้นมีสิทธิอุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค.ภายในสามสิบวันนับแต่วันทราบหรือ ถือว่าทราบคำสั่ง การอุทธรณ์และการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามที่กำหนดใน กฎ ก.พ.ค.
12
ตัวอย่างคำวินิจฉัยอุทธรณ์
กรณีที่ ๑ กรณีที่ ๒ กรณีที่ ๓
13
ผู้มีสิทธิอุทธรณ์ ม. ๑๑๔ 1. ผู้ถูกสั่งลงโทษทางวินัยตาม พ.ร.บ.ระเบียบ
ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ โทษทางวินัยมี ๕ สถาน ดังนี้ ๑. ภาคทัณฑ์ ๒. ตัดเงินเดือน ๓. ลดเงินเดือน ๔. ปลดออก ๕. ไล่ออก (ต่อ)
14
ผู้มีสิทธิอุทธรณ์ ม. ๑๑๔ ๒. ผู้ถูกสั่งให้ออกจากราชการตามมาตรา ๑๑๐ (๑) (๓) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มีดังนี้ ๒.๑ ม.๑๑๐ (๑) เจ็บป่วยไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ราชการของตน ได้โดยสม่ำเสมอ ๒.๒ ม.๑๑๐ (3) ขาดคุณสมบัติทั่วไปตาม ม. ๒๖. ก. (๑) หรือ (๓) หรือมีลักษณะต้องห้ามตาม ม. ๓๖ ข.(๑) (๓) (๖) หรือ (๗) - ม. ๓๖ ก. (๑) มีสัญชาติไทย - ม. ๓๖ ก. (๓) เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ด้วยความบริสุทธิ์ใจ (ต่อ)
15
- ม. ๓๖ ข. (๑) เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
- ม. ๓๖ ข. (๑) เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ม. ๓๖ ข. (๓) เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการหรือ ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนตาม พ.ร.บ.นี้ หรือตามกฎหมายอื่น - ม. ๓๖ ข. (๖) เป็นบุคคลล้มละลาย ม. ๓๖ ข. (๗) เป็นผู้เคยต้องรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุด ให้จำคุกเพราะกระทำความผิดทางอาญา เว้นแต่ เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ (ต่อ)
16
๒.๓ มาตรา ๑๑๐ (๕) ไม่สามารถปฏิบัติราชการให้มี
(ต่อ) ๒.๓ มาตรา ๑๑๐ (๕) ไม่สามารถปฏิบัติราชการให้มี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลในระดับอันเป็นที่ พอใจของทางราชการ ๒.๔ มาตรา ๑๑๐ (๖) หย่อนความสามารถในอันที่จะ ปฏิบัติหน้าที่ราชการ บกพร่องในหน้าที่ราชการ หรือ ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่ราชการ ถ้าให้ผู้นั้นรับราชการต่อไปรับราชการต่อไปจะ เสียหายแก่ราชการ (ต่อ)
17
(ต่อ) ๒.๕ มาตรา ๑๑๐ (๗) มีกรณีถูกสอบสวนว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ตามมาตรา ๙๓ และผลการสอบสวนไม่ได้ความแน่ชัดพอที่จะฟังลงโทษ ตามมาตรา ๙๗ วรรคหนึ่ง แต่มีมลทินหรือมัวหมองในกรณี ที่ถูกสอบสวนถ้าให้รับราชการต่อไปจะเป็นการเสียหายแก่ราชการ ๒.๖ มาตรา ๑๑๐ (๘) ต้องรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึง ที่สุดให้จำคุกในความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือ ความผิดลหุโทษ หรือต้องรับโทษจำคุกโดยคำสั่งของศาล ซึ่งยังไม่ถึงกับจะต้องถูกลงโทษปลดออกหรือไล่ออก
18
ตัวอย่างคำวินิจฉัยอุทธรณ์
กรณีที่ ๑ กรณีที่ ๒ กรณีที่ ๓ กรณีที่ กรณีที่ กรณีที่
19
ระยะเวลายื่นอุทธรณ์ ๑. ผู้ถูกลงโทษ, ผู้ถูกให้ออก ก.พ.ค. ๒. ทายาท
(ข้อ ๒๙) ๑. ผู้ถูกลงโทษ, ผู้ถูกให้ออก วันทราบหรือ ถือว่าทราบคำสั่ง ๓๐ วัน วันทราบหรือ ถือว่าทราบคำสั่ง ๙๐ วัน ก.พ.ค. ๒. ทายาท วันที่ผู้ถูกสั่งลงโทษ หรือถูกสั่งให้ออก ถึงแก่ความตาย ๑ ปี
20
วิธีพิจารณาของ ก.พ.ค. (ข้อ ๕)
เป็นวิธีพิจารณาโดยใช้ระบบไต่สวน (เทียบเคียงกับ กระบวนพิจารณาของศาลปกครอง) ในกรณีที่กฎหมายไม่ได้กำหนดเรื่องใดไว้โดยเฉพาะ ให้ดำเนินการโดยกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครอง
21
อำนาจ ก.พ.ค.ในการพิจารณาอุทธรณ์
ม.๑๒๐ ๑. ไม่รับอุทธรณ์ ๒. ยกอุทธรณ์ ๓. ให้แก้ไขคำสั่งลงโทษ ๔. ให้ยกเลิกคำสั่งลงโทษ ๕. ให้เยียวยาความเสียหายให้ผู้อุทธรณ์ หรือ ๖. ให้ดำเนินการอื่นใดเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ตามระเบียบที่ ก.พ.ค.กำหนด ***** ข้อจำกัดอำนาจ ก.พ.ค. - เพิ่มโทษไม่ได้ เว้นแต่ - ได้รับแจ้งจาก ก.พ.ตามมาตรา ๑๐๔
22
ตัวอย่างคำวินิจฉัยอุทธรณ์
กรณีที่ ๑ กรณีที่ ๒ กรณีที่ ๓ กรณีที่ กรณีที่ กรณีที่
23
ให้ผู้บังคับบัญชาตาม ม.๕๗ ดำเนินการตามคำวินิจฉัย
บทบังคับ -คำสั่งลงโทษ -คำสั่งให้ออก อุทธรณ์ ก.พ.ค. มีคำวินิจฉัย ให้ผู้บังคับบัญชาตาม ม.๕๗ ดำเนินการตามคำวินิจฉัย ภายในสามสิบวัน - ผู้บังคับบัญชาตาม ม.๕๗ ไม่ปฏิบัติตาม คำวินิจฉัย ถือว่าจงใจละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น (มาตรา ๑๑๖ วรรคสาม)
24
พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
คำสั่งลงโทษ หรือคำสั่งให้ ออก มาตรา ๑๑๖ อุทธรณ์ภายใน ๓๐ วัน (๙๐ วัน หรือ ๑ ปี) ก.พ.ค. ถ้าผู้อุทธรณ์ไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัย ให้ฟ้องคดีภายใน ๙๐ วัน ศาลปกครองสูงสุด
25
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการร้องทุกข์ และการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์
1. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ หมวด 10 การร้องทุกข์ มาตรา ๑22 - ๑๒5 2. กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ.๒๕๕๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
26
พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
หมวด ๑๐ การร้องทุกข์ มาตรา ๑๒๒ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดมีความคับข้องใจอันเกิดจากการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติต่อตนของผู้บังคับบัญชา และเป็นกรณีที่ไม่อาจอุทธรณ์ตาม หมวด ๙ การอุทธรณ์ได้ ผู้นั้นมีสิทธิร้องทุกข์ได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้ ในหมวดนี้
27
การร้องทุกข์ ความหมาย : การร้องทุกข์ เป็น กระบวนการพนักงานสัมพันธ์ ในการบริหารงานบุคคล ที่กำหนดให้สิทธิข้าราชการ พลเรือนสามัญที่จะร้องขอให้ทบทวนการสั่งพักราชการ หรือการสั่งให้ออกจากราชการ หรือการปฏิบัติของ ผู้บังคับบัญชา เพื่อแก้ไขเปลี่ยนแปลงการสั่งการ ของผู้บังคับบัญชาหรือแก้ความคับข้องใจของผู้ร้องทุกข์
28
วัตถุประสงค์ของหลักการเรื่องร้องทุกข์
เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา เปิดโอกาสให้ผู้บังคับบัญชาได้ทราบความรู้สึกของผู้ใต้บังคับบัญชาที่ไม่ได้ รับความเป็นธรรม หรือ คับข้องใจที่เกิดจากการปฏิบัติของตน เพื่อให้ข้าราชการมีทางระบายความทุกข์/ความคับข้องใจอันเกิดจากการ ปฏิบัติต่อตนของผู้บังคับบัญชา ไม่ไปแสดงออกในทางที่ไม่ถูกไม่ควร เพื่อให้มีกลไกการตรวจสอบ และถ่วงดุลการใช้อำนาจของผู้บังคับบัญชา ให้เป็นไปโดยถูกต้อง เป็นธรรมและเหมาะสม ส่งเสริมให้เกิดความโปร่งใส ในการบริหารทรัพยากรบุคคลภาคราชการ
29
ผู้มีสิทธิร้องทุกข์ คือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ
ร้องทุกข์ได้สำหรับตนเองเท่านั้น (มาตรา ๑๒๒ และข้อ ๘)
30
เหตุแห่งการร้องทุกข์
๑. เหตุเกิดจากผู้บังคับบัญชา ๒. เหตุเกิดจากการถูกสั่ง พักราชการ หรือ ถูก สั่งให้ออกจากราชการไว้ ก่อน
31
ผู้มีสิทธิ์ร้องทุกข์ (มาตรา ๑๒๒)
1. เหตุเกิดจากผู้บังคับบัญชา ผู้มีสิทธิ์ร้องทุกข์ (มาตรา ๑๒๒) ข้าราชการพลเรือนสามัญ ที่มีความคับข้องใจอันเกิดจากการปฏิบัติ หรือไม่ปฏิบัติต่อตนของผู้บังคับบัญชา และเป็นกรณีที่ไม่อาจอุทธรณ์ได้
32
ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ การปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติต่อตนของผู้บังคับบัญชาซึ่งทำให้เกิด ความคับข้องใจอันเป็นเหตุแห่งการร้องทุกข์ มีลักษณะดังนี้ (ข้อ ๗) ๑. ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นการออกกฎ คำสั่ง หรือปฏิบัติ หรือไม่ปฏิบัติอื่นใดโดยไม่มีอำนาจหรือนอกเหนืออำนาจหน้าที่ หรือไม่ถูกต้องตามกฎหมาย หรือไม่ถูกต้องตามรูปแบบ ขั้นตอน หรือวิธีการอันเป็นสาระสำคัญที่กำหนดไว้สำหรับการกระทำนั้น หรือโดยไม่สุจริต หรือมีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม หรือมีลักษณะเป็นการสร้างขั้นตอนโดยไม่จำเป็น หรือสร้างภาระ ให้เกิดขึ้นเกินสมควร หรือเป็นการใช้ดุลพินิจโดยมิชอบ (ต่อ)
33
๔. ไม่เป็นไปตามหรือขัดกับระบบคุณธรรมตามมาตรา ๔๒
(ต่อ) การปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติต่อตนของผู้บังคับบัญชาซึ่งทำให้เกิด ความคับข้องใจอันเป็นเหตุแห่งการร้องทุกข์ มีลักษณะดังนี้ (ข้อ ๗) ๒. ไม่มอบหมายงานให้ปฏิบัติ ๓. ประวิงเวลา หน่วงเหนี่ยวการดำเนินการบางเรื่อง อันเป็นเหตุให้เสียสิทธิ หรือไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ อันพึงมีพึงได้ในเวลาอันสมควร ๔. ไม่เป็นไปตามหรือขัดกับระบบคุณธรรมตามมาตรา ๔๒ (ต่อ)
34
๒. เหตุเกิดจากการถูกสั่งพักราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน
มาตรา ๑๐๑ วรรคหก การสั่งพักราชการให้สั่งพักตลอดเวลาที่สอบสวน เว้นแต่ผู้ถูกสั่งพักราชการผู้ใดร้องทุกข์ตามมาตรา ๑๒๒ และผู้มีอำนาจพิจารณาคำร้องทุกข์ เห็นว่าสมควร สั่งให้ผู้นั้นกลับเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการก่อนการสอบสวนหรือพิจารณาเสร็จสิ้น เนื่องจากพฤติการณ์ของผู้ถูกสั่งให้ออกจากราชการไม่เป็นอุปสรรคต่อการสอบสวนหรือพิจารณาและไม่ก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยต่อไป หรือเนื่องจากการดำเนินการทางวินัยได้ล่วงพ้นหนึ่งปีนับแต่วันพักราชการแล้วยังไม่แล้วเสร็จ และ ผู้ถูกสั่งพักราชการไม่มีพฤติกรรมดังกล่าว ให้ผู้มีอำนาจสั่งพักราชการสั่งให้ผู้นั้น กลับเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการก่อนการสอบสวนหรือพิจารณาเสร็จสิ้น มาตรา ๑๐๑ วรรคเจ็ด “ ให้นำความในวรรคหกมาใช้บังคับกับกรณีถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนด้วย”
35
กรณีถูกสั่งพัก /สั่งให้ออกไว้ก่อน (มาตรา 101)
กรณีถูกสั่งพัก /สั่งให้ออกไว้ก่อน (มาตรา 101) เหตุตาม ก.ม. การสั่งพัก ถูกกล่าวหากระทำผิดร้ายแรง ถูกตั้ง กกส. มีเหตุ (ข้อ ๗๘ กฎ ปี ๕๖) ถูกฟ้อง/ต้องหาในคดีอาญา ≠ ประมาท / ลหุโทษ หลักการสั่งให้ออกฯ มีเหตุ ตามข้อ ๗๘ ถูกกล่าวหากระทำผิดร้ายแรง ถูกตั้ง กกส. ถูกฟ้อง/ต้องหาในคดีอาญา ≠ ประมาท / ลหุโทษ การสอบสวน/พิจณ. ไม่แล้วเสร็จโดยเร็ว ผู้ถูกสั่งเห็นว่าคำสั่งมิชอบ ร้องทุกข์
36
การร้องทุกข์ กรณีถูกสั่งพัก/สั่งให้ออก
การร้องทุกข์ กรณีถูกสั่งพัก/สั่งให้ออก (ม. ๑๐๑ วรรค ๖) ผู้ถูกสั่งเห็นว่าคำสั่งมิชอบ ร้องทุกข์ตาม ม. ๑๒๒ เลย ๑ ปี ยังไม่เสร็จ + ผู้ถูก สั่ง ร้องทุกข์ กรณีนี้ หากผู้มีอำนาจเห็นว่า ผู้ถูกสั่งไม่เป็นอุปสรรค + ไม่ก่อให้เกิดความไม่สงบ = สั่งให้กลับก่อนการสอบสวน / พิจารณาเสร็จสิ้น
37
การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนสามัญ
ตาม พ.ร.บ.นี้ ให้คำนึงถึงระบบคุณธรรมดังต่อไปนี้ มาตรา ๔๒ ๑. การรับบุคคลเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ต้องคำนึงถึงความรู้ความสามารถของบุคคล ความเสมอภาค ความเป็นธรรม และประโยชน์ของทางราชการ ๒. การบริหารทรัพยากรบุคคล ต้องคำนึงถึงผลสัมฤทธิ์ และประสิทธิภาพขององค์กรและลักษณะของงาน โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม (ต่อ)
38
(ต่อ) ๓. การพิจารณาความดีความชอบ การเลื่อนตำแหน่ง และ การให้ประโยชน์อื่นแก่ข้าราชการ ต้องเป็นไปอย่างเป็นธรรมโดยพิจารณาจากผลงาน ศักยภาพและความประพฤติ และจะนำความคิดเห็นทางการเมืองหรือสังกัดพรรคการเมืองมาประกอบการพิจารณามิได้ ๔. การดำเนินการทางวินัย ต้องเป็นไปด้วยความยุติธรรมและโดยปราศจากอคติ ๕. การบริหารทรัพยากรบุคคลต้องมีความเป็นกลางทาง การเมือง
39
ผู้มีอำนาจพิจารณาเรื่องร้องทุกข์
มาตรา ๑๒๒, ๑๒๓ ๑. เหตุแห่งทุกข์เกิดจากผู้บังคับบัญชา ให้ร้องทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชา ชั้นเหนือขึ้นไป ตามลำดับ (มาตรา ๑๒๒) ๒. เหตุแห่งทุกข์เกิดจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง รัฐมนตรีเจ้าสังกัด หรือนายกรัฐมนตรี ให้ร้องทุกข์ต่อ ก.พ.ค. (มาตรา ๑๒๓)
40
การร้องทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือ ขึ้นไป
ข้อ ๒๐ ๑. ส่วนภูมิภาค เหตุเกิดจากผู้บังคับบัญชาต่ำกว่าผู้ว่าราชการจังหวัด ให้ร้องทุกข์ต่อผู้ว่าราชการจังหวัด ๒. ส่วนกลาง เหตุเกิดจากผู้บังคับบัญชาต่ำกว่าอธิบดี ให้ร้องทุกข์ต่ออธิบดี ๓. เหตุเกิดจากผู้ว่าราชการจังหวัด หรือ อธิบดี ให้ร้องทุกข์ต่อปลัดกระทรวง
41
การร้องทุกข์ต่อ ก.พ.ค. เหตุเกิดจาก (มาตรา 123)
เหตุเกิดจาก (มาตรา 123) - หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่อยู่ในบังคับบัญชา หรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อ นายกรัฐมนตรี หรือต่อรัฐมนตรี - ปลัดกระทรวง - รัฐมนตรีเจ้าสังกัด - นายกรัฐมนตรี (ต่อ)
42
พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
การร้องทุกข์ คับข้องใจจากการปฏิบัติ/ไม่ปฏิบัติต่อตนของ ผบ. และ เป็นกรณีที่ไม่อาจอุทธรณ์ได้ เหตุเกิดจาก - ผู้บังคับบัญ ชา - ผู้ว่าฯ - อธิบดี เหตุเกิดจาก - หน.ส่วนราชการ ขึ้นตรง - ปลัดกระทรวง/ รมต./นรม. ก.พ.ค. คกก.วินิจฉัยร้องทุกข์ ผบ. ชั้นเหนือขึ้นไป ศาลปกครองชั้นต้น
43
ตัวอย่างคำวินิจฉัยร้องทุกข์
กรณีที่ ๑ กรณีที่ ๒ กรณีที่ ๓ กรณีที่ กรณีที่ กรณีที่
44
วิธีการร้องทุกข์ ร้องทุกข์ได้สำหรับตนเองเท่านั้น
จัดทำคำร้องทุกข์เป็นหนังสือ ยื่นต่อผู้มีอำนาจวินิจฉัยร้องทุกข์ ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันทราบหรือถือว่าทราบเหตุแห่งการ ร้องทุกข์ ผู้มีสิทธิร้องทุกข์จะมอบหมายให้บุคคลอื่นร้องทุกข์แทนได้ กรณีจำเป็นที่ ก.พ.ค. กำหนด
45
วิธีการร้องทุกข์ (ต่อ)
กรณียื่นเรื่องร้องทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไป อาจยื่นร้องทุกข์ ผ่านผู้บังคับบัญชา หรือ ผู้บังคับบัญชาที่เป็นเหตุแห่งการร้องทุกข์ หรือส่งเรื่องร้องทุกข์ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนไปยังผู้บังคับบัญชา ชั้นเหนือขึ้นไป กรณียื่นเรื่องร้องทุกข์ต่อประธานกรรมการ ก.พ.ค. อาจยื่นคำร้องทุกข์ ต่อพนักงานผู้รับคำร้องทุกข์ที่ สำนักงาน ก.พ. หรือจะส่งคำร้องทุกข์ ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนไปยังสำนักงาน ก.พ.
46
เมื่อมีเหตุ ร้องทุกข์ ตาม ม. ๑๒๒, ม.๑๐๑ วรรคหก ดำเนินการให้แล้วเสร็จ
กำหนดระยะเวลาพิจารณาร้องทุกข์ (ข้อ ๒๔) ร้องทุกข์ภายใน 30 วัน เมื่อมีเหตุ ร้องทุกข์ ตาม ม. ๑๒๒, ม.๑๐๑ วรรคหก ผู้มีอำนาจวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ ๖๐ วัน ขยายได้อีกไม่เกิน ๓๐ วัน (และขยายได้อีก ๓๐ วัน โดยให้ กำหนดมาตรการ) ดำเนินการให้แล้วเสร็จ (ทำคำวินิจฉัย)
47
อำนาจของผู้มีอำนาจวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์
ข้อ ๒๕ ๑. ไม่รับเรื่องร้องทุกข์ ๒. ยกคำร้องทุกข์ ๓. ให้แก้ไขคำสั่ง ๔. ให้ยกเลิกคำสั่ง ๕. ให้เยียวยาความเสียหายให้ผู้ร้องทุกข์ ๖. ให้ดำเนินการอื่นใดเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ตามระเบียบที่ ก.พ.ค. กำหนด
48
ตัวอย่างคำวินิจฉัยร้องทุกข์
กรณีที่ ๑ กรณีที่ ๒ กรณีที่ ๓ กรณีที่ กรณีที่ กรณีที่
49
ผลคำวินิจฉัยร้องทุกข์ ของ ก.พ.ค.
(ข้อ ๕๖ ข้อ ๕๗) ๑. ให้แจ้งคู่กรณีทราบโดยเร็ว ๒. กรณีผู้ร้องทุกข์ไม่เห็นด้วยกับคำ วินิจฉัย ให้ฟ้องคดี ต่อศาลปกครองชั้นต้น ภายใน 90 วันนับแต่วันรู้/ควรรู้คำวินิจฉัย ๓. คำวินิจฉัยร้องทุกข์ให้ผูกพันคู่กรณี และผู้ที่เกี่ยวข้อง ที่จะต้องปฏิบัติตาม นับแต่วันที่กำหนดไว้ใน คำวินิจฉัยร้องทุกข์นั้น
50
การคุ้มครองระบบคุณธรรม
มาตรา ๑๒๖ ในกรณีที่ ก.พ.ค. เห็นว่า กฎ ระเบียบ หรือคำสั่งใด ที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ และมุ่งหมายให้ใช้บังคับเป็นการทั่วไป ไม่สอดคล้องกับระบบคุณธรรมตามมาตรา ๔๒ ให้ ก.พ.ค. แจ้งให้หน่วยงานหรือผู้ออกกฎ ระเบียบ หรือคำสั่งดังกล่าวทราบ เพื่อดำเนินการแก้ไขหรือยกเลิกตามควรแก่กรณี
51
สำนักพิทักษ์ระบบคุณธรรม
สำนักงาน ก.พ. โทร
52
เว็บไซต์ ก.พ.ค. และเอกสารเผยแพร่
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.