ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สถานการณ์ปัจจุบัน ของโรคติดต่ออุบัติใหม่
Emerging Infectious Diseases นพ.เสกสรรค์ คลังสมบัติ ประธานงานควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อ โรงพยาบาลวานรนิวาส
2
กรอบเนื้อหาการบรรยาย
YOUR SUBTOPICS GO HERE Zika Mers Avian Influenza Influenza Ebola องค์ความรู้ทั่วไป การเตรียมความพร้อม ป้องกันและแก้ไขปัญหา
3
ความหมายของโรคติดต่ออุบัติใหม่
YOUR SUBTOPICS GO HERE นิยามของ World Health Organization โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อใหม่ (New infectious diseases) เชื้อก่อโรคที่ดื้อต่อยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial resistant organism) เหตุการณ์จงใจกระทำของมนุษย์ด้วยสารชีวะหรืออาวุธเชื้อโรค โรคติดต่ออุบัติซ้ำ (Re-emerging infectious diseases) T.B โรคติดต่อที่พบในพื้นที่ใหม่ (New geographical areas)
4
ผลการศึกษาโรคติดต่ออุบัติใหม่ 50 ปีที่ผ่านมา
YOUR SUBTOPICS GO HERE
5
ผลการศึกษาโรคติดต่ออุบัติใหม่ 50 ปีที่ผ่านมา
YOUR SUBTOPICS GO HERE ทั่วโลกจะมีโรคติดต่ออุบัติใหม่เกิดขึ้นใหม่ทุกปี มากกว่าร้อยละ 70 เป็นโรคที่ติดต่อมาจากสัตว์ แนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่มีพรมแดน มีผลกระทบรุนแรงหลายด้าน การป้องกันควบคุมโรคที่ยุ่งยากซับซ้อน ความสำคัญและมีผลกระทบต่อทั่วโลกและระหว่างประเทศ
6
ระยะเวลาการตอบโต้ต่อโรคอุบัติใหม่ของประเทศไทย
MDR-TB 2500 Dengue 2513 Chikun. YOUR SUBTOPICS GO HERE 2527 HIV 2552 H1N1 2547 H5N1 2546 SARS 2530 VC0139 2542 Nipah 2537 Plague India VC O139 2543 Antimicrobial resistant bacteria 2545 Anthrax hoax 2555 MERS- CoV 2557 อีโบลา แอฟริกาตะวันตก โรคอุบัติใหม่ที่เกิดขึ้นในวันนี้จะเกิด การระบาดและส่งผลกระทบในวันข้างหน้าได้หากไม่มีการเตรียมความพร้อมและตอบโต้อย่างมีประสิทธิภาพ
7
โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
Zika virus disease
8
โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
สรุป มียุงลายเป็นพาหะนำโรค อาการไม่รุนแรง ไข้ ผื่นแดง เยื่อบุตาอักเสบ ปวดกล้ามเนื้อ ในอดีตมีรายงานการตรวจพบในหลายประเทศ รวมถึงประเทศไทย ปี : ไทย มีผู้ป่วยยืนยันเฉลี่ยปีละ 5 ราย กระจายทุกภาค ปี 2559 : ประเทศบราซิล รายงานผู้ป่วยที่มีภาวะศีรษะเล็ก แต่กำเนิด และผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางระบบประสาท อย่างต่อเนื่องคล้ายกับที่พบในปี ในหมู่เกาะภูมิภาคโพลินีเซียของประเทศฝรั่งเศส จึงคาดว่าภาวะดังกล่าวอาจมีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อไวรัสซิกา YOUR SUBTOPICS GO HERE
9
โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
สถานการณ์ของโรค ประเทศที่พบผู้ติด เชื้อไวรัสซิกา WHO รายงานผู้ป่วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสซิกาตั้งแต่ม.ค ถึง 12 ก.พ ใน 39 ประเทศ YOUR SUBTOPICS GO HERE จำนวนรวม 120,271 ราย แบ่งเป็น ผู้ป่วยยืนยัน 2,063 ราย ผู้ป่วยสงสัย 118,208 ราย ไทย: ปี 2559 มีการรายงานพบผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสซิกา ตั้งแต่เดือน มกราคม59และระบาดหลายจังหวัด ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
10
โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
การเตรียมความพร้อมการป้องกันโรคในประเทศไทย YOUR SUBTOPICS GO HERE ความเสี่ยงของประเทศไทย การแพร่เชื้อในประเทศไทย มีความเป็นไปได้เล็กน้อยถึงปานกลาง โดยอาจมีผู้ติดเชื้อทั้งในประเทศและจากต่างประเทศ รวมถึงอาจมีผู้ติดเชื้อจากประเทศไทยเดินทางไปต่างประเทศ อย่างไรก็ตามโรคนี้มีอาการไม่รุนแรง ยกเว้นในหญิงตั้งครรภ์ อาจส่งผลให้ทารกเกิดภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิด (Microcephaly) หรือมีภาวะแทรกซ้อนด้านระบบประสาท
11
โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
การเตรียมความพร้อมการป้องกันโรคในประเทศไทย YOUR SUBTOPICS GO HERE มาตรการป้องกันควบคุมโรค พัฒนาการเฝ้าระวังโรค ทั้งด้านระบาดวิทยา กีฏวิทยา การติดตามภาวะพิการแต่กำเนิด และความผิดปกติ ทางระบบประสาท ขยายการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการให้มีความครอบคลุมทั่วถึง ทบทวนแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วย เร่งรัดการป้องกัน และควบคุมโรค โดยเฉพาะอย่างยิ่งการควบคุมยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค พัฒนาการสื่อสารให้คำแนะนำประชาชน เพื่อการป้องกันโรค
12
โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คำแนะนำในการควบคุมป้องกันโรค สำหรับประชาชนทั่วไป YOUR SUBTOPICS GO HERE ใช้ยากำจัดแมลง หรือ ยาทาป้องกันยุง การสวมใส่เสื้อผ้าเนื้อหนาสีอ่อนๆ ที่สามารถ คลุมผิวหนังและร่างกายได้ อาศัย และนอนในห้องปรับอากาศ ปิดประตู ปิดหน้าต่าง การใช้มุ้ง การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยทำความ สะอาด การเทน้ำทิ้ง หรือครอบฝาภาชนะที่ สามารถบรรจุน้ำ เช่น กระถางต้นไม้ เพื่อไม่ให้มี น้ำขังเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
13
โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คำแนะนำในการควบคุมป้องกันโรค YOUR SUBTOPICS GO HERE สำหรับผู้เดินทางที่จะเดินทางไปประเทศที่มีการระบาดของโรคไข้ซิกา ขอให้ผู้เดินทางระมัดระวังป้องกันไม่ให้ยุงกัด โดยสวมเสื้อแขนยาว กางเกงขายาวให้มิดชิด และใช้ยาทาป้องกันยุงกัด หญิงตั้งครรภ์ควรหลีกเลี่ยง การเดินทางไปยังประเทศที่มีรายงาน การระบาด แต่หากจำเป็นต้องเดินทางไปประเทศดังกล่าวควรปรึกษาแพทย์ และระมัดระวังมิให้ถูกยุงกัด
14
Middle East Respiratory Syndrome
โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง Middle East Respiratory Syndrome
15
โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง
สรุป เกิดจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา อาการไข้ ไอ ในรายที่รุนแรง หอบ หายใจลำบาก ปอดบวม และเสียชีวิต พบครั้งแรกในปี 2555 ประเทศซาอุดิบาระเบีย ระบาดส่วนใหญ่ในแถบตะวันออกกลาง โดยเฉพาะ ในช่วงพิธีทางศาสนา พบความเกี่ยวข้องกับสัตว์จำพวกอูฐ พบเชื้อในอูฐที่ใกล้ชิดกับผู้ป่วย ตรวจพบภูมิคุ้มกันต่อเชื้อนี้ในอูฐ ผู้ป่วยบางรายมีประวัติสัมผัสอูฐและดื่มนมอูฐดิบ พ.ค พบผู้ติดเชื้อรายแรกในประเทศเกาหลีใต้ ต่อมาเกิดการระบาดในประเทศ YOUR SUBTOPICS GO HERE
16
โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง
สถานการณ์ของโรค YOUR SUBTOPICS GO HERE ทั่วโลก: ก.ย – 16 ก.พ พบผู้ป่วยยืนยันรวมทั้งสิ้น 1,638 ราย เสียชีวิต 587 ราย จาก 26 ประเทศ ไทย: มิ.ย – ก.พ พบผู้ป่วยยืนยัน 2 ราย เป็นชาวตะวันออกกลาง
17
โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง
ความเสี่ยงของประเทศไทย YOUR SUBTOPICS GO HERE 1. ประชาชนชาวไทยเดินทางไปประกอบพิธีทางศาสนา 2. นักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้าพื้นที่ที่มีการระบาดและที่เดิน ทางเข้าไทย 3. แรงงาน /นักธุรกิจที่เดินทางไปทำงานในประเทศแถบ ตะวันออกกลาง
18
โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง
การเตรียมความพร้อมการป้องกันในประเทศไทย ในคน มาตรการการเฝ้าระวัง และคัดกรอง การเฝ้าระวังคัดกรองที่ช่องทางเข้า-ออก ประเทศ / การติดตามกลุ่มเสี่ยง การเฝ้าระวังในโรงพยาบาล ทั้งภาครัฐ และเอกชน จัดทีมดูแลผู้ที่เดินทางไปประกอบพิธีทางศาสนา (ในช่วงก่อน ระหว่าง และหลังเดินทาง) มาตรการการประเมินความเสี่ยง และการป้องกัน ติดตามสถานการณ์ การระบาด สถานการณ์ในประเทศอย่างต่อเนื่อง และประเมินความเสี่ยง
19
โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง
การเตรียมความพร้อมการป้องกันในประเทศไทย YOUR SUBTOPICS GO HERE ผู้เดินทางจาก ประเทศที่มีการระบาด ผู้เดินทาง นักท่องเที่ยวผ่าน ประเทศที่มีการระบาด คัดกรองที่ท่าอากาศยาน เมื่อผ่าน ด่านตม. / ด่าน ตป. และติดตามรายวัน ค้นหา วินิจฉัย ที่โรงพยาบาล เมื่อผู้เดินทางมีอาการป่วย ค้นหา และแจ้งเหตุ ในชุมชนโดยความร่วมมือของ อสม. ผู้ประกอบการ ประชาชน ฯลฯ
20
โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง
การเตรียมความพร้อมการป้องกันในประเทศไทย ในสัตว์ ร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวัง และตรวจค้นโรคในสัตว์ป่ากลุ่มเสี่ยง สำรวจเชื้อไวรัสในสัตว์จำพวกอูฐ ผลการตรวจ: ไม่พบเชื้อไวรัส สำรวจเชื้อไวรัสในค้างคาว ชะลอการรับคำขออนุญาตให้นำเข้า หรือ นำผ่านอูฐ จากประเทศในแถบตะวันออกกลาง
21
คำแนะนำผู้เดินทางไปแสวงบุญ
ก่อนการเดินทาง ควรตรวจสุขภาพก่อนการเดินทางไปประกอบพิธีอุมเราะห์ และ พิธีฮัจญ์ โดยเฉพาะผู้ที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยง (โรคเบาหวาน โรคปอดเรื้อรัง ภูมิคุ้มกันบกพร่อง เป็นต้น) ดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลอยู่เสมอ ส่งเสริมสุขภาพ รับประทานอาหารสะอาด ปลอดภัย ครบห้าหมู่ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และพักผ่อนให้เพียงพอ ระหว่างการเดินทาง หลีกเลี่ยงคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วยทางเดินหายใจ/ผู้ที่มีอาการ ไอ-จาม ผู้มีโรคประจำตัว/เสี่ยงต่อการป่วย อาจสวมหน้ากากป้องกันโรค และเปลี่ยนบ่อยๆ เมื่อเข้าไปในสถานที่ที่มีคนอยู่รวมกันมากๆ ควรล้างมือบอยๆด้วยสบูโดยเฉพาะเมื่อสัมผัสกับสารคัดหลั่ง ของผู้ป่วยหรือสิ่งแวดล้อมที่ผู้ป่วยสัมผัส YOUR SUBTOPICS GO HERE
22
คำแนะนำผู้เดินทางไปแสวงบุญ
ระหว่างการเดินทาง หลีกเลี่ยงการเข้าไปสัมผัสกับฟาร์มสัตว์หรือสัตว์ป่าต่างๆหรือดื่มนมสัตว์ โดยเฉพาะอูฐซึ่งอาจเป็นแหล่งรังโรคของเชื้อได้ ถ้ามีอาการไข้ ไอ มีน้ํามูกเจ็บคอ (มีอาการรุนแรงที่สงกระทบต่อกิจวัตรประจําวันปกติ) ควรหลีกเลี่ยงการ สัมผัสคลุกคลีกับบุคคลอื่นเพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อ เมื่อไอหรือจามควรใช้กระดาษชําระปิดปากและ จมูกทุกครั้ง และทิ้งกระดาษชําระที่ใช้แล้วลงในถังขยะที่ปิดมิดชิดและล้างมือให้สะอาด กรณีที่ไม่สามารถ ปฏิบัติได้ควรไอหรือจามลงบนเสื้อผ้าบริเวณต้นแขน ไม่ควรจามรดมือและรีบไปพบแพทย์หรือเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขในพื้นที่ ปฏิบัติตามคําแนะนําด้านสาธารณสุขของประเทศนั้นๆอยางเครงครัด หลังการเดินทาง ในช่วงสองสัปดาห์ (๑๔ วัน) หลังเดินทางกลับแล้ว ถ้ามีอาการไข้ ไอ มีน้ํามูก เจ็บคอ ควรไปพบแพทย์ พร้อมแจ้งประวัติการเดินทาง YOUR SUBTOPICS GO HERE
23
โรคไข้หวัดใหญ่ Influenza
24
โรคไข้หวัดใหญ่ สถานการณ์ทั่วโลก YOUR SUBTOPICS GO HERE
ที่มา : WHO 8 ก.พ.2559
25
สถานการณ์ในประเทศไทย
โรคไข้หวัดใหญ่ สถานการณ์ในประเทศไทย YOUR SUBTOPICS GO HERE
26
โรคไข้หวัดใหญ่ สถานการณ์ ประเทศไทย
กลุ่มอายุที่พบผู้ป่วยมาก เรียงตามลำดับ 7-9 ปี 10-14 ปี 25-34 ปี 5 จังหวัดที่พบผู้ป่วยมากที่สุด เรียงตามลำดับ อุตรดิตถ์ เชียงใหม่ กรุงเทพมหานคร พระนครศรีอยุธยา พะเยา ที่มา : ระบบรายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา
27
มาตรการและการจัดบริการสุขภาพ
โรคไข้หวัดใหญ่ มาตรการและการจัดบริการสุขภาพ YOUR SUBTOPICS GO HERE มาตรการทาง การแพทย์ - ยาต้านไวรัส - วัคซีน มาตรการทางสังคม - คำแนะนำทั่วไป - กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ - ผู้ป่วยสวมหน้ากาก อนามัย - หากป่วย หยุดเรียน/ หยุดงาน อยู่บ้าน
28
มาตรการและการจัดบริการสุขภาพ
โรคไข้หวัดใหญ่ มาตรการและการจัดบริการสุขภาพ YOUR SUBTOPICS GO HERE เฝ้าระวัง ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด และวิเคราะห์ความเสี่ยง การเกิดโรคระบาด เตรียมพร้อมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วทั่วประเทศและควบคุมโรค เบื้องต้น ประชาสัมพันธ์มาตรการป้องกันโรคพื้นฐานด้านสุขอนามัยแก่ประชาชน เตรียมการฉีดวัคซีนป้องกันโรคให้เร็วขึ้นและครอบคลุมกลุ่มเสี่ยงมากขึ้น
29
คำแนะนำประชาชน ไอ จาม ล้างมือ บ่อยๆ เมื่อป่วยควรหยุดเรียน หยุดทำงาน
30
โรคไข้หวัดนก Avian influenza
31
โรคไข้หวัดนก สรุป YOUR SUBTOPICS GO HERE
เชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ที่พบในสัตว์ปีก แบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ ชนิดที่มีความรุนแรงสูง และชนิดที่มี ความรุนแรงต่ำ แบ่งเป็นชนิดย่อย เช่น H5N1 H5N8 เป็นต้น บางชนิดติดต่อสู่คนได้ เช่น H5N1 H7N9 H5N6 เป็นต้น YOUR SUBTOPICS GO HERE
32
โรคไข้หวัดนก สถานการณ์ทั่วโลก YOUR SUBTOPICS GO HERE
สถานการณ์ของโรคไข้หวัดนก H5N1 ในคน ตั้งแต่ปี YOUR SUBTOPICS GO HERE ตั้งแต่ปี 2546 – 14 ธ.ค พบผู้ป่วยโรค ไข้หวัดนก H5N1 16 ประเทศ ผู้ป่วยรวมทั้งสิ้น 844 ราย เสียชีวิต 449 อัตราป่วย ตาย 53% ในปี พบผู้ป่วยจำนวน 143 ราย เสียชีวิต 42 ราย ที่ประเทศ อียิปต์ จีน และ อินโดนีเชีย
33
โรคไข้หวัดนก สถานการณ์ทั่วโลก YOUR SUBTOPICS GO HERE
สถานการณ์ของโรคในสัตว์ปีก ตั้งแต่ปี YOUR SUBTOPICS GO HERE
34
โรคไข้หวัดนก สถานการณ์ทั่วโลก YOUR SUBTOPICS GO HERE
สถานการณ์ของโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์ต่างๆ ในคนและสัตว์ ตั้งแต่ส.ค – ก.พ. 2558 YOUR SUBTOPICS GO HERE ไข้หวัดนก H5N6 พ.ค ม.ค ทั่วโลก พบผู้ป่วย 6 ราย มาจากประเทศจีน สัตว์ปีกป่วย/ตายได้ พบระบาดในจีน ลาว และ เวียดนาม ไข้หวัดนก H7N9 พบระบาดในประเทศจีน ผู้ป่วยสะสม 683 ราย เสียชีวิต 275 ราย สัตว์ปีกไม่แสดงอาการป่วย WHO : 11 มกราคม 2559
35
สถานการณ์ของโรคในไทย
โรคไข้หวัดนก YOUR SUBTOPICS GO HERE ข้อมูลจากสำนักควบคุมป้องกันและบำบัดโรคสัตว์ วันที่ 8 มกราคม ไม่มีโรคไข้หวัดนกเกิดขึ้นในประเทศไทยเป็นเวลา 7 ปี 22 วัน (นับจากทำลายสัตว์ปีกรายสุดท้ายวันที่ 12 พฤศจิกายน 2551) WHO : 11 มกราคม 2559
36
โรคไข้หวัดนก ความเสี่ยง YOUR SUBTOPICS GO HERE
การเลี้ยงสัตว์ปีกในพื้นที่ชายแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้านหรือการเคลื่อนย้ายเข้าสู่ประเทศ เนื่องจากยังคงพบการระบาดของโรคนี้ในสัตว์ในประเทศดังกล่าว การเลี้ยงระบบเปิด/ระบบความปลอดภัย ทางชีวภาพของฟาร์มเลี้ยงไก่ไม่แน่นหนา โอกาสที่เชื้อจากสัตว์ปีกในสิ่งแวดล้อม ติดเข้ามาในฝูงมากขึ้น
37
โรคไข้หวัดนก ความเสี่ยง YOUR SUBTOPICS GO HERE
ไก่หลังบ้านเลี้ยงร่วมกับสัตว์ชนิดอื่น เช่น สุกร เพิ่มโอกาสการกลายพันธุ์ของเชื้อ และ ติดข้ามระหว่างสัตว์แต่ละชนิด ตลาดค้าสัตว์ปีกมีชีวิตที่มีสัตว์ปีกหลายชนิด อยู่รวมกัน เช่น เป็ด ไก่ และนก เพิ่มโอกาสกลายพันธุ์ของเชื้อ WHO : 11 มกราคม 2559
38
การควบคุมไข้หวัดนกในสัตว์และในคน
เฝ้าระวังโรค ค้นหาผู้ป่วย และผู้สัมผัส ป้องกันการสัมผัสเชื้อ ในประชาชนกลุ่มเสี่ยง ควบคุมการระบาด ในสัตว์ปีก (ภายใต้การดูแลของกรมปศุสัตว์) สไลด์นี้แสดงเส้นทางการแพร่เชื้อไข้หวัดนก ซึ่งรับการพิสูจน์เป็นหลักฐานทางวิทยาศาสตร์แล้วว่า นกในธรรมชาติเป็นตัวพาเชื้อไข้หวัดนกมา และมาแพร่สู่ไก่ เป็ด สัตว์ปีกที่เลี้ยงไว้ และแพร่มาสู่คน มาตรการที่ควบคุมโรค จึงต้องควบคุมตั้งแต่ต้นทาง คือตั้งแต่สัตว์ปีก ต้องควบคุมการระบาดในสัตว์ปีกให้สงบเร็วที่สุด ในส่วนของนกธรรมชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชได้มีการไปสุ่มตรวจเป็นระยะ สำหรับมาตรการในคน เพื่อป้องกันการระบาดของโรคแพร่มาถึงคน คือต้องมีการป้องกันการสัมผัสเชื้อในประชาชนกลุ่มเสี่ยง ให้ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เพื่อลดความตระหนก เฝ้าระวัง ค้นหาผู้ป่วย และผู้สัมผัส รวมถึงการรักษาผู้ป่วย ป้องกันการติดเชื้อในสถานพยาบาล คน นกป่าและนกอพยพที่ติดเชื้อ สัตว์ปีกที่ติดเชื้อ ให้ความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง ลดความตระหนก รักษาผู้ป่วย ป้องกัน การติดเชื้อในสถานพยาบาล เฝ้าระวังการติดเชื้อ 30 Nov 07
39
คำแนะนำในการป้องกันโรคไข้หวัดนก
ผู้บริโภคไก่ และผลิตภัณฑ์จากไก่ - สำหรับเนื้อไก่/เป็ด ที่มีขายอยู่ตามท้องตลาดในขณะนี้ ถือว่ามีความปลอดภัยสามารถบริโภคได้ตามปกติ แต่ต้องปรุงให้สุกก่อนรับประทาน ผู้บริโภคไก่และผลิตภัณฑ์จากไก่ ควรรับประทานเนื้อที่ปรุงสุก เท่านั้น งดการรับประทานเนื้อไก่/เป็ดที่กึ่งสุกกึ่งดิบ
40
คำแนะนำในการป้องกันโรคไข้หวัดนก (2)
ผู้ประกอบอาหาร (เพื่อการจำหน่ายและเตรียมอาหารในครัวเรือน) - ควรเลือกซื้อไก่ เป็ดสดที่ไม่มีลักษณะบ่งชี้ว่าอาจตายด้วยโรคติดเชื้อ เช่น เนื้อมีสีคล้ำ มีจุด เลือดออก เป็นต้น สำหรับไข่ ควรเลือกฟองที่ดูสดใหม่และไม่มีมูลไก่ติดเปื้อนที่เปลือกไข่ ก่อนปรุง ควรนำมาล้างให้สะอาดก่อน - ไม่ใช้มือที่เปื้อนมาจับต้องจมูก ตา และปาก และหมั่นล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจับต้องเนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์และเปลือกไข่ที่มีมูล สัตว์เปื้อน - แยกเขียงสำหรับหั่นอาหารที่ปรุงสุกแล้ว หรือ ผัก ผลไม้ โดยเฉพาะไม่ใช้ เขียงเดียวกัน
41
คำแนะนำในการป้องกันโรคไข้หวัดนก (3)
ผู้ขนย้ายสัตว์ปีก - งดซื้อสัตว์จากฟาร์มที่มีสัตว์ตายมากผิดปกติ - เมื่อขนส่งสัตว์เสร็จในแต่ละวัน ต้องรีบล้างทำความสะอาดรถให้สะอาด สำหรับกรงขังสัตว์ควรราดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อซ้ำอีกครั้งหนึ่ง ควรดูแลระมัดระวังตนเอง โดยใช้อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย เช่น ผ้าปิดปากจมูก ถุงมือ รองเท้าบู๊ท และต้องหมั่นล้างมือบ่อยๆ รีบอาบน้ำชำระร่างกายด้วยน้ำและสบู่ให้สะอาด และต้องเปลี่ยนเสื้อผ้าทุกครั้งหลังปฏิบัติเสร็จ ส่วนเสื้อผ้าชุดเดิม พลาสติกหรือผ้ากันเปื้อน ผ้าปิดปากจมูก ถุงมือ แว่นตา ควรนำไปซักหรือล้างให้สะอาด และผึ่งกลางแดดให้แห้งสนิท ก่อนนำมาใช้อีกครั้ง
42
คำแนะนำในการป้องกันโรคไข้หวัดนก (4) เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่/เป็ด
- หากมีไก่ เป็ดป่วยหรือตายไม่ว่าด้วยสาเหตุใด ให้รีบปรึกษาเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ในพื้นที่ทันที ต้องไม่นำไก่ เป็ด ที่ป่วยหรือ ตายออกมาจำหน่าย และทำลายตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ ปศุสัตว์อย่างเคร่งครัด เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อมาสู่สัตว์อื่นหรือคน - เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ต้องป้องกันสัตว์ปีกของตนเองไม่ให้ติดเชื้อไข้หวัดนก โดยปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ปศุสัตว ์และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่างเคร่งครัด
43
การพัฒนาระบบเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา
ร่างแผนยุทธศาสตร์การจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ ของประเทศไทย ฉบับที่ 1 (พ.ศ – 2561) Draft Thailand Strategy on Antimicrobial Resistance First Edition (2016 – 2018) วิสัยทัศน์ ประเทศไทยสามารถลดการป่วย การเสียชีวิต และผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากการดื้อยาต้านจุลชีพ เป็นการบูรณาการร่วมกันระหว่างคณะกรรมการประสานและบูรณาการงานด้านการป้องกันควบคุมและแก้ไขการดื้อยาต้านจุลชีพฯ (ระดับกระทรวง อย. เป็นเลขานุการ)
44
การพัฒนาระบบเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา
วัตถุประสงค์ - เน้นการจัดการกับปัญหาการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียเท่านั้น เนื่องจากเป็นภัยคุกคามเร่งด่วนต่อสุขภาพและเศรษฐกิจในทุกประเทศ - เป็นปัญหาร่วมระหว่างคน สัตว์ สิ่งแวดล้อม ที่ต้องการ การทำงานบูรณาการร่วมกันระหว่างกระทรวง และทุกภาค ส่วน
45
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4
(ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพของประเทศไทย ฉบับที่ 1 (พ.ศ – 2561) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเฝ้าระวัง ติดตาม และส่งสัญญาณการดื้อยาต้านจุลชีพทางห้องปฏิบัติการในโรงพยาบาล และทางระบาดวิทยาในโรงพยาบาล ชุมชน และสิ่งแวดล้อม (One-health) ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเฝ้าระวัง ติดตาม และควบคุมการกระจายยาปฏิชีวนะในภาพรวมของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การป้องกันและควบคุมเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ และการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสมในโรงพยาบาล (Antibiotic stewardship) ยุทธศาสตร์ที่ 4 การป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้านจุลชีพและยาปฏิชีวนะตกค้างในการเลี้ยงสัตว์และในห่วงโซ่การผลิตและห่วงโซ่อุปทานของอาหาร การใช้ยาต้านจุลชีพในการเกษตรและสัตว์เลี้ยง และการให้ความรู้แก่เกษตรกร
46
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ที่ 6
(ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพของประเทศไทย ฉบับที่ 1 (พ.ศ – 2561) ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างความตระหนักรู้และปลูกจิตสำนึกต่อการใช้ยาปฏิชีวนะ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาโครงสร้างและกลไกของการทำงานเชิงบูรณาการ การติดตามประเมินผล และประสานความร่วมมือภายในประเทศและต่างประเทศในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
47
การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อโรค
เน้นย้ำเรื่องการจัดการระบาดโรคติดต่อร้ายแรงโรคอุบัติใหม่-อุบัติซ้ำ 1.แค่สงสัยว่าเป็นโรคติดต่อ-ร้ายแรง ให้ใช้หลักIsolation-precautionในการดูแลผู้ป่วยไม่ต้องรอผลLab รายงานICN รายงานทีม รายงาน ผ.อ ทราบ 2.รายงานจ.ว.ในไลน์กลุ่ม
48
การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อโรค
ทุกหน่วยงานที่ให้บริการผู้ป่วย( ร.พ/รพ.สต)มีการคัดแยกผู้ป่วยระบบทางเดินหายใจก่อนเข้ารับบริการถ้าพบผู้ป่วยกลุ่มนี้ต้องแยกตรวจใส่หน้ากากอนามัยให้ผู้ป่วยล้างมือ หน่วยงาน ER / OPDมีจุดคัดกรอง/คัดแยกผู้ป่วยระบบทางเดินหายใจ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.