ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดย무열 대 ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
บทที่ 7 การบริหารงานขนส่ง ( Transportation Management System : TMS )
อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
2
7.1 ระบบ TMS ระบบ TMS ของโครงการสามารถเป็นเครื่องมือสนับสนุนผู้ประกอบการขนส่งรถบรรทุกได้อย่าง มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดทีมผู้พัฒนาระบบได้ทำการศึกษาจุดแข็งและจุดอ่อนของระบบดังกล่าวที่มีใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมถึงได้ทำการสำรวจกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process) ของผู้ประกอบการและความคาดหวังของผู้ประกอบการต่อระบบ TMS เพื่อนาข้อมูลดังกล่าวไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนา อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
3
7.1.1 จุดเด่นของระบบและเทคโนโลยีสารสนเทศ TMS
ที่พัฒนาโดยสำนักงานโลจิสติกส์กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ระบบถูกพัฒนาออกแบบให้สอดคล้องกับกระบวนการดำเนินธุรกิจ (Business Process) ของผู้ประกอบการบริการขนส่ง (Logistics Service Provider) โดยโมดูลต่างๆ ถูกออกแบบให้เป็นไปตามลำดับขั้นของกระบวนการขนส่ง โดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการ Work order Management, Bill Invoice, Cost Analysis, Cargo Management, Truck Management, Driver Management, Customer Management, Planning of Routing, Tracking System, Reporting System อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
4
7.1.1 จุดเด่นของระบบและเทคโนโลยีสารสนเทศ TMS
อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
5
ระบบถูกพัฒนาออกแบบเมนูและฟังก์ชั่นการใช้งานแบบ User Interfacing Design ทำให้การใช้งานระบบง่าย อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
6
ระบบติดตั้งเครื่องมือในการจัดการฐานข้อมูลที่หลากหลาย เช่น การกรอง การค้นหาข้อมูล ฟังก์ชั่นการเรียงลำดับข้อมูล เป็นต้น อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
7
7.1.1.4 ระบบการสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System) ในการวางแผนการขนส่งและกำหนดเส้นทาง
อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
8
ระบบเชื่อมโยงกับ GPS Tracking ในการติดตามสถานการณ์ขนส่งอย่าง real time ซึ่งทำงานบน Android Application อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
9
ระบบเชื่อมโยงกับ GPS Tracking ในการติดตามสถานการณ์ขนส่งอย่าง real time ซึ่งทำงานบน Android Application อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
10
ระบบติดตั้งเครื่องมือในการประมูลผลข้อมูลด้านการคำนวณ ต้นทุน ค่าใช้จ่ายและกำไร ขาดทุน ของการบริการขนส่งอย่างมีประสิทธิภาพ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
11
ระบบมีการจัดการฐานข้อมูลที่สามารถออกรายงานได้หลายมิติและ customize ครอบคลุมความต้องการของผู้ประกอบการขนส่งรถบรรทุก อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
12
รถบรรทุกซึ่งเป็นสินทรัพย์
ระบบ ติดตั้ง warning system ในการบริหารการบำรุงรักษา (Maintenance Management) และการเปลี่ยนอะไหล่ ซึ่งช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถวางแผนการบำรุงรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุน และค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงและยืดอายุการใช้งานและการเสื่อมสภาพของ รถบรรทุกซึ่งเป็นสินทรัพย์ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
13
7.1.1.9 ระบบพัฒนาให้มีการเชื่อมโยงและinterfacing ระหว่างระบบ TMS และระบบ
Backhauling อย่างอัตโนมัติ ทาให้การบริหารการขนส่งเป็นไปอย่างครบวงจร ซึ่งรวมไปถึงการลดการวิ่งรถเที่ยวเปล่า อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
14
ระบบถูกพัฒนาออกแบบที่สามารถใช้ได้ทั้งในระบบ Web base Application และในระบบ Stand Alone เพิ่มความยืดหยุ่น (Flexibility) ในการใช้ระบบของผู้ประกอบการ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
15
7.2 ประโยชน์การใช้งานระบบ TMS
ผู้ประกอบการบริการขนส่ง (LSP) ที่นำระบบ TMS ที่พัฒนาในโครงการนี้ไปใช้ในการบริหารงานการบริการขนส่ง ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจดังนี้ (1) เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารการขนส่ง โดยลดเวลาเรื่องการดำเนินงานของพนักงาน ปฏิบัติงานในการทาเอกสาร การวางแผนการขนส่ง รวมถึงจัดทำรายงาน (2) ลดความผิดพลาดของการทำงานของพนักงานปฏิบัติการ เช่น การออกใบส่งสินค้าผิด การป้อนข้อมูล Bill invoice ผิด เป็นต้น (3) ลดต้นทุนการดำเนินงานการบริหารการขนส่ง (4) การเพิ่มการใช้งานรถบรรทุก (Utilization) อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการคำนึงถึงการ บำรุงรักษาและยืดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
16
7.2 ประโยชน์การใช้งานระบบ TMS
ผู้ประกอบการบริการขนส่ง (LSP) ที่นำระบบ TMS ที่พัฒนาในโครงการนี้ไปใช้ในการบริหารงานการบริการขนส่ง ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจดังนี้ (5) เพิ่มความเชื่อถือและภาพลักษณ์ที่ดีต่อลูกค้าในการใช้ระบบสนับสนุนสารสนเทศในการบริหารจัดการบริการขนส่ง (6) ระบบ TMS ถูกพัฒนาให้สามารถใช้งานได้ในระบบ online และ Stand alone ซึ่งทาให้ ผู้ประกอบการมีความยืดหยุ่นต่อการใช้งาน (7) ระบบ TMS ในโครงการนี้เป็น Free Ware ซึ่งทำให้ผู้ประกอบการลดการลงทุนในระบบ สารสนเทศ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
17
7.2 ประโยชน์การใช้งานระบบ TMS
ผู้ประกอบการบริการขนส่ง (LSP) ที่นำระบบ TMS ที่พัฒนาในโครงการนี้ไปใช้ในการบริหารงานการบริการขนส่ง ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจดังนี้ (8) สำนักงานโลจิสติกส์อนุญาติให้ผู้ประกอบการนำ Source Code ไปแก้ไขเพื่อให้สามารถ ปรับเปลี่ยนระบบ TMS ให้สอดคล้องกับกระบวนการธุรกิจขององค์กร (9) ระบบ TMS จัดทำระบบ e-training ซึ่งพนักงานขององค์กรสามารถเรียนรู้การใช้งานระบบได้ตลอดเวลา อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.