งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญปี 2560 ตามนโยบายยกกระดาษ A4

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการดำเนินงานที่สำคัญปี 2560 ตามนโยบายยกกระดาษ A4"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการดำเนินงานที่สำคัญปี 2560 ตามนโยบายยกกระดาษ A4
และแผนปฏิบัติงานและงบประมาณ Smart Agricultural Curve ปี 2561 การพัฒนา Smart Farmer วันพุธที่ 22 พฤศจิกายน 2560 กรมส่งเสริมการเกษตร

2 นโยบาย คำจำกัดความ Smart Farmer Smart Farmer ต้นแบบ Young Smart Farmer
พัฒนาเกษตรกรทั่วประเทศเป็น Smart Farmer โดยมี Smart Officer เป็นเพื่อนคู่คิด มุ่งยกระดับมาตรฐานให้เป็นเกษตรกรคุณภาพที่สามารถปรับเปลี่ยนตนเอง เปิดรับข้อมูลข่าวสาร การเรียนรู้ มีการใช้ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ มาใช้ในการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ คำจำกัดความ Smart Farmer คือ ผู้ประกอบการเกษตรที่มีการใช้เทคโนโลยี และการบริหารจัดการเพื่อการดำเนินธุรกิจเกษตรอย่างทันยุคสมัย มีความเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้ Smart Farmer ต้นแบบ คือ เกษตรกรที่ผ่านตัวชี้วัด 6 ข้อ และผ่านทั้ง 15 ตัวบ่งชี้ และมีคุณสมบัติเฉพาะด้านตามที่แต่ละสาขากำหนด Young Smart Farmer คือ เกษตรกรรุ่นใหม่ที่ผ่านการประเมินคุณสมบัติเป็น Young Smart Farmer มีการบริหารจัดการการเกษตรด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรมในเชิงผู้ประกอบการเกษตรรุ่นใหม่ พึ่งพาตนเองได้ มีการเชื่อมโยงเครือข่าย และเป็นผู้นำทางการเกษตรในท้องถิ่น

3

4 สถานการณ์การพัฒนา Smart Farmer
ช่วงอายุ จำนวนเกษตรกร (ล้านราย) รวม น้อยกว่า 20 ปี 0.0017 20 – 45 ปี 2.5494 46 – 60 ปี 5.7544 มากกว่า 61 ปี 4.0961 ผลการดำเนินงานพัฒนา Smart Farmer ประเภท ปี 2560 ผลงานสะสม ปี 57-60 Smart Farmer 52,959* 981,649 Smart Farmer Model 2,330 25,539 Young Smart Farmer 1,836 7,598 ประชากร ภาคการเกษตร ของประเทศไทย หมายเหตุ * อยู่ระหว่างการบันทึกข้อมูลลงระบบ ที่มา: ฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร เม.ย.60 เป้าหมายการพัฒนา Smart Farmer ปี 2561 233,058 ราย เกษตรกรที่ผ่านการประเมิน SF 29,880 ราย เกษตรกรทั่วไป 63,464 ราย เกษตรกรแปลงใหญ่ 95,219 ราย เกษตรกร ศพก. 38,045 ราย เกษตรกรรุ่นใหม่ 6,450 ราย งบ ฯ หน่วยงาน งบ ฯ บูรณาการ Smart Farmer งบ ฯ บูรณาการ แปลงใหญ่ งบ ฯ บูรณาการ ศพก. งบ ฯ บูรณาการ Smart Farmer

5 การขับเคลื่อนการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
Growth เป้าหมายการดำเนินงาน ปี 2561 ผลการดำเนินงาน ปี 2560 เกษตรกรที่ยังไม่เป็น Smart Farmer (Developing Smart Farmer : DSF) พัฒนาเกษตรกร ศพก. เครือข่าย พัฒนาเกษตรกรตามสาขาอาชีพ พัฒนาเกษตรต้นแบบระดับอำเภอ พัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ (YSF) พัฒนาให้ผ่านคุณสมบัติ Smart Farmer พัฒนาเกษตรกรในแปลงใหญ่เป็นลำดับแรก พัฒนาเกษตรกรเข้าสู่การเป็นสมาชิกแปลงใหญ่ ผลการดำเนินงาน ปี 2559 เกษตรกรที่เป็น Smart Farmer แล้ว (Smart Farmer : SF) พัฒนาเกษตรกรสมาชิกแปลงใหญ่ พัฒนาเกษตรต้นแบบ (SFM) (ศพก.) พัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ (YSF) SF 52,959 ราย พัฒนาเพื่อยกระดับเกษตรกรผู้นำเป็น Smart Farmer ต้นแบบ พัฒนาประธานคณะกรรมการแปลงใหญ่ให้เป็นผู้ประกอบการเกษตรและมีความสามารถในการบริหารจัดการกลุ่ม SF 11,375 ราย YSF 1,836 ราย เกษตรกรที่เป็น Smart Farmer ต้นแบบ (Smart Farmer Model : SFM) YSF 1,849 ราย SFM 2,330 ราย สร้างเครือข่าย Smart Farmer ต้นแบบ เชื่อมโยงการทำงานกับ ศพก., เครือข่าย ศพก. และสมาชิกแปลงใหญ่ SFM 882 ราย Times

6 เป้าหมายการดำเนินงานโครงการพัฒนา Smart Farmer ปี 2561
ปีแห่งการยกระดับคน การบริหารจัดการมาตรฐานสินค้าเกษตร สู่เกษตร 4.0 1. การพัฒนาเกษตรกรสู่ Smart Farmer เกษตรกรที่ยังไม่เป็น Smart Farmer (Developing Smart Farmer : DSF) เกษตรกรที่เป็น Smart Farmer แล้ว (Smart Farmer : SF) เกษตรกรที่เป็น Smart Farmer ต้นแบบ (Smart Farmer Model : SFM) ประเภท พัฒนาให้ผ่านคุณสมบัติ Smart Farmer พัฒนาเกษตรกรในแปลงใหญ่เป็นลำดับแรก พัฒนาเกษตรกรเข้าสู่การเป็นสมาชิกแปลงใหญ่ พัฒนาเพื่อยกระดับเกษตรกรผู้นำเป็น Smart Farmer ต้นแบบ พัฒนาให้มีความสามารถเฉพาะด้าน พัฒนาประธานคณะกรรมการแปลงใหญ่ให้เป็นผู้ประกอบการเกษตรและมีความสามารถในการบริหารจัดการกลุ่ม สร้างเครือข่าย Smart Farmer ต้นแบบ เชื่อมโยงการทำงานกับ ศพก., เครือข่าย ศพก. และสมาชิกแปลงใหญ่ เป้าหมาย เกษตรกร (ราย) เกษตรกรทั่วไป 60,214 สมาชิกแปลงใหญ่ ปีที่ 3 94,622 สมาชิก ศพก. 26,640 เกษตรกรทั่วไปที่ใช้ งบฯ หน่วยงานพัฒนา 15,581 รวม 197,057 เป้าหมาย เกษตรกร (ราย) เกษตรกรผู้นำ 3,200 ประธานแปลงใหญ่ ปีที่ 3 597 ประธาน ศพก. เครือข่าย 10,523 เกษตรกรที่ผ่านการประเมินเป็น SF แล้ว 14,299 รวม 28,619 เป้าหมาย เกษตรกร (ราย) Smart Farmer ต้นแบบ 50 ประธาน ศพก. 882 แห่ง 882 เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรดีเด่น 7 ประเภท รวม 932 เป้าหมาย 233,058 ราย ประเมินคุณสมบัติ Smart Farmer ต้นแบบ สร้างเครือข่าย Smart Farmer และส่งเสริมการรวมกลุ่ม สนับสนุนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ หรือเครือข่ายของ ศพก. ยกย่องเชิดชูเกียรติ/เผยแพร่ผลงาน ประเมิน/วิเคราะห์ศักยภาพ ปรับแนวคิดในการทำอาชีพและจัดทำแผนพัฒนาความรู้ พัฒนาทักษะอาชีพ เชื่อมโยงเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การตลาด ประเมินผลสู่การเป็น Smart Farmer กิจกรรม ประเมิน/วิเคราะห์ศักยภาพ พัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการ และทักษะด้านเทคโนโลยี (Digital) สนับสนุนการรวมกลุ่มทำธุรกิจ และพัฒนาด้านการบริหารจัดการกลุ่มและเชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจ ประเมินผลสู่การเป็น Smart Farmer ต้นแบบ

7 เป้าหมายการดำเนินงานโครงการพัฒนา Smart Farmer ปี 2561
ปีแห่งการยกระดับคน การบริหารจัดการมาตรฐานสินค้าเกษตร สู่เกษตร 4.0 2. การพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่สู่ Young Smart Farmer เกษตรกรที่ยังไม่เป็น Young Smart Farmer Young Smart Farmer Young Smart Farmer Model ประเภท เน้นพัฒนาให้เกษตรกรมีแผนพัฒนาตนเอง เน้นการพัฒนาให้ผ่านคุณสมบัติ Young Smart Farmer พัฒนาให้ Young Smart Farmer มีแผนธุรกิจเกษตร พัฒนาให้เป็นผู้ประกอบการเกษตรรุ่นใหม่ สร้างต้นแบบของเครือข่าย Young Smart Farmer เชื่อมโยงการทำงานกันหน่วยงานภาคี เป้าหมาย 6,450 ราย 6,000 ราย 450 ราย 27 ศูนย์ ประเมิน/วิเคราะห์ศักยภาพและปรับแนวคิดในการทำอาชีพ พัฒนาแนวคิดสู่การเป็นผู้ประกอบการเกษตร รุ่นใหม่ พัฒนาผู้ประกอบการด้วยนวัตกรรมเกษตร ประเมินผลสู่การเป็น Young Smart Farmer พัฒนาทักษะสู่การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร ด้วยนวัตกรรมและทักษะดิจิทัล ยกระดับผู้ประกอบการเกษตรรุ่นใหม่สู่ความเป็นมืออาชีพในระดับสากล (Go to Global) เสริมสร้างความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ เสริมสร้างความเข้มแข็งเครือข่าย Young Smart Farmer พัฒนาให้เป็นศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่ (ศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้) ยกย่องเชิดชูเกียรติ/เผยแพร่ผลงาน กิจกรรม

8 แผนปฏิบัติงานโครงการพัฒนา Smart Farmer ปี 2561
กลุ่มเป้าหมาย/กิจกรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1.1 เกษตรกรที่ยังไม่เป็น Smart Farmer (197,057 ราย) ประเมิน วิเคราะห์ศักยภาพ ปรับแนวคิดในการทำอาชีพและจัดทำแผนพัฒนาศักยภาพของเกษตรกร สนับสนุนการพัฒนาทักษะอาชีพในสาขาต่างๆ ตามแผนพัฒนาศักยภาพของเกษตรกร สนับสนุนการเชื่อมโยงเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / เครือข่ายการตลาด ประเมินผลสู่การเป็น Smart Farmer ติดตามประเมินผล หน่วยงาน / งบประมาณ กสก. 7,000,000 บาท กป. 11,200,000 บาท ปศ. ใช้วงเงินเดียวกับ พัฒนาเกษตรกรสู่ SF ปศ 6,200,000 บาท กป. 9,600,000 บาท กข. 11,097,900 บาท ส.ป.ก. 10,063,700 บาท กสส. 3,256,448 บาท มกอช. 1,800,000 บาท มม. 36,505,490 บาท ชป. 8,671,800 บาท กสก. (ใช้งบรวมกับ เวทีประเมิน วิเคราะห์ฯ) กป. 1,600,000 บาท ปศ. ใช้วงเงินเดียวกับ พัฒนาเกษตรกรสู่ SF งบประมาณ รวม 18,200,000 บาท 87,195,338 บาท 1,600,000 บาท

9 แผนปฏิบัติงานโครงการพัฒนา Smart Farmer ปี 2561
กลุ่มเป้าหมาย/กิจกรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1.2 Smart Farmer (28,619 ราย) ประเมินคุณสมบัติการเป็น Smart Farmer ต้นแบบก่อนรับการพัฒนาทักษะ วิเคราะห์ศักยภาพ ปรับแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการเกษตร พัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการ และทักษะด้านเทคโนโลยี (Digital) สนับสนุนการรวมกลุ่มทำธุรกิจ และพัฒนาด้านการบริหารจัดการกลุ่มและเชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจ ประเมินผลสู่การเป็น Smart Farmer ต้นแบบ ติดตามประเมินผล หน่วยงาน / งบประมาณ กสก. (ใช้งบประมาณ เดียวกับการประเมิน DSF) ปศ. ใช้วงเงินเดียวกับ พัฒนาอาสาปศุสัตว์ สู่ SF ปศ. 6,459,800 บาท กข. 1,427,000 บาท กสก. 10,777,200 บาท มม. ใช้งบเดียวกันกับการพัฒนาเกษตรกร ปราดเปรื่องใน DSF งบประมาณ รวม 18,664,000 บาท

10 แผนปฏิบัติงานโครงการพัฒนา Smart Farmer ปี 2561
กลุ่มเป้าหมาย/กิจกรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1.3 Smart Farmer ต้นแบบ (932 ราย) ประเมินคุณสมบัติ Smart Farmer ต้นแบบ พร้อมจัดทำแผนพัฒนาศักยภาพรายบุคคล สร้างเครือข่าย Smart Farmer ต้นแบบ สนับสนุนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ หรือเครือข่ายของ ศพก. ถอดองค์ความรู้เกษตรกรต้นแบบ เผยแพร่ผลงาน จัดทำสื่อถ่ายทอดความรู้ ประเมินผลหลังการพัฒนา ติดตามประเมินผล หน่วยงาน / งบประมาณ กสก. (ใช้งบประมาณ เดียวกับการ ประเมิน DSF) กสก. 243,750 บาท กข. 400,000 บาท กป 577,500 บาท กสก. 514,500 บาท ปศ. ใช้วงเงินเดียวกับพัฒนาอาสาปศุสัตว์สู่ SF งบประมาณ รวม 3,415,250 บาท 514,500 บาท

11 แผนปฏิบัติงานโครงการพัฒนา Smart Farmer ปี 2561
2. การพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่สู่ Young Smart Farmer กลุ่มเป้าหมาย/กิจกรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 2.1 เกษตรกรที่ยังไม่เป็น Young Smart Farmer (6,000 ราย) ประเมิน/วิเคราะห์ศักยภาพและปรับแนวคิดในการทำอาชีพ พัฒนาแนวคิดสู่การเป็นผู้ประกอบการเกษตร รุ่นใหม่ พัฒนาผู้ประกอบการด้วยนวัตกรรมเกษตร ประเมินผลสู่การเป็น Young Smart Farmer ติดตามประเมินผล หน่วยงาน / งบประมาณ กสก. 1,078,000 บาท กข. 1,947,000 บาท มกอช. 1,287,180 บาท ปศ. ใช้วงเงินเดียวกับ สร้างผู้นำเยาวชน เกษตรด้าน ปศุสัตว์ กวก. 1,300,000 บาท ปศ ,000 บาท ปศ. ใช้วงเงินเดียวกับ สร้างผู้นำเยาวชน เกษตรด้านปศุสัตว์ งบประมาณ รวม 5,612,180 บาท 1,753,000 บาท 1,078,000 บาท

12 แผนปฏิบัติงานโครงการพัฒนา Smart Farmer ปี 2561
2. การพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่สู่ Young Smart Farmer กลุ่มเป้าหมาย/กิจกรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 2.2 Young Smart Farmer (450 ราย) - ประเมินคุณสมบัติการเป็น Young Smart Farmer ต้นแบบ ก่อนรับการพัฒนาทักษะ พัฒนาทักษะสู่การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร ด้วยนวัตกรรมและทักษะดิจิทัล (ค่ายนวัตกรรมสร้างสรรค์ฯ) ยกระดับผู้ประกอบการเกษตรรุ่นใหม่สู่ความเป็นมืออาชีพในระดับสากล (Go to Global) เสริมสร้างความเข้มแข็งเครือข่าย Young Smart Farmer ประเมินผลสู่ Young Smart Farmer ต้นแบบ ติดตามประเมินผล หน่วยงาน / งบประมาณ กสก. 3,150,000 บาท กสก. ร่วมกับ กวก. อยู่ระหว่างการจัดทำโครงการร่วมกัน กสก. 4,108,000 บาท กข ,000 บาท งบประมาณ รวม 3,150,000 บาท 4,758,000 บาท

13 แผนปฏิบัติงานโครงการพัฒนา Smart Farmer ปี 2561
2. การพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่สู่ Young Smart Farmer กลุ่มเป้าหมาย/กิจกรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 2.3 Young Smart Farmer ต้นแบบ (27 ศูนย์) ประเมินคุณสมบัติ Young Smart Farmer ต้นแบบ เสริมสร้างความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ยกย่องเชิดชูเกียรติ/เผยแพร่ผลงาน พัฒนาให้เป็นศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่ เผยแพร่ผลงาน จัดทำสื่อถ่ายทอดความรู้ ประเมินผลหลังการพัฒนา ติดตามประเมินผล หน่วยงาน / งบประมาณ กสก. 1,755,000 บาท กสก. 1,350,000 บาท งบประมาณ รวม 1,755,000 บาท 1,350,000 บาท


ดาวน์โหลด ppt ผลการดำเนินงานที่สำคัญปี 2560 ตามนโยบายยกกระดาษ A4

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google