ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
II-4การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
พว.วัลลภา ช่างเจรจา 20 ธันวาคม 2561
2
Slide Title
4
4.1 ก. การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
ประสานความร่วมมือ ให้ความรู้ ครอบคลุมทุกพื้นที่ วิเคราะห์ความเสี่ยง ออกแบบระบบ กำหนดนโยบาย/แนวปฏิบัติ คณะกรรมการ IC คณะกรรมการ ENV คณะกรรมการ RDU งานอาชีวอนามัย
5
แนวปฏิบัติ การติดเชื้อเฉพาะตำแหน่ง การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
มาตรการโรคอุบัติใหม่/ อุบัติซ้ำ การป้องกันการติดเชื้อผู้ป่วยภูมิต้านทานต่ำ การป้องกันสัมผัสเลือด/สารคัดหลั่งระหว่างปฏิบัติงาน การรับวัคซีนของบุคลากร
6
4.1 ข. การเฝ้าระวังและควบคุมการติดเชื้อ
วิธีการเฝ้าระวัง Passive surveillance Active surveillance แบบแผนการดื้อยาของเชื้อจุลชีพ ทุกหน่วยเฝ้าระวังการติดเชื้อในผู้ป่วยทุกรายและรายงานการติดเชื้อเมื่อพบโดยรายงานทางโปรแกรม IC BKHos ICN เฝ้าระวังการติดเชื้อเฉพาะตำแหน่ง ในหอผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง งานจุลชีว ต้องมีการรายงานแบบแผนการดื้อยาของเชื้อจุลชีพให้แก่องค์กรแพทย์และผู้เกี่ยวข้องรับราบ
7
4.1 ข. การเฝ้าระวังและควบคุมการติดเชื้อ
การนำผลการเฝ้าระวังไปใช้ หน่วยงานต้องส่งรายงานการเฝ้าระวังให้ถูกต้อง/ทันเวลา จัดทำแนวทางการบ่งชี้การระบาดและนำไปปฏิบัติ วิเคราะห์ผลการติดเชื้อของหน่วยงานและมีการปรับปรุงวิธีการปฏิบัติเพื่อป้องกันการติดเชื้อในหน่วยงาน คณะกรรมการ IC จัดทำแนวทางและดำเนินการควบคุมเมื่อมีการระบาดเกิดขึ้น ร่วมกับงานระบาดพร้อมทั้งสื่อสารข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
9
4.2 การปฏิบัติเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ก. การป้องกันการติดเชื้อทั่วไป Standard precaution/ Isolation precaution การทำความสะอาด ทำลายเชื้อ/ปราศจากเชื้อ การ reprocess กล้องส่องอวัยวะต่างๆ การนำอุปกณ์การแพทย์ใช้แล้วทิ้งกลับมาใช้ใหม่ ควบคุมสภาพแวดล้อมโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม ประเมินความเสี่ยงในการติดเชื้อ/ผลกระทบจากการก่อสร้าง แยกบริเวณใช้งานที่สะอาดจากบริเวณปนเปื้อน ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อในหน่วยงานที่สำคัญ
10
Standard Precautions เป็นวิธีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคในผู้ป่วยทุกรายโดยให้คำนึงว่าผู้ป่วยทุกรายอาจจะมีเชื้อโรคที่ สามารถติดต่อได้
11
Standard Precautions 1. Hand Hygiene 2. Personal protective equipment (PPE) 3. มีมาตรการป้องกันการแพร่กระจายในผู้ป่วยที่มี โรคระบบทางเดินหายใจ : สวมผ้าปิดปากและจมูก 4. การแยกผู้ป่วย
12
Standard Precautions 5. การทำลายเชื้อและทำให้ปราศจากเชื้อ
6. การควบคุมสิ่งแวดล้อม 7. การจัดการผ้าเปื้อน 8. การป้องกันการเกิดอุบัติเหตุสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่ง 9. การจัดการขยะ
15
4.2 ข.การป้องกันการติดเชื้อเฉพาะกลุ่ม
ลดความเสี่ยงของการติดเชื้อ ที่สำคัญ -SSI -VAP -BSI -CA-UTI มีระเบียบปฏิบัติ -ผู้ป่วยภูมิต้านทานต่ำ -ผู้ป่วยติดเชื้อที่ติดต่อทางโลหิต -ดื้อยา -อุบัติใหม่ flowการดูแลบุคลากร -สัมผัสเลือด/สารคัดหลั่ง -เจ็บป่วยจากการทำงาน -มาตรการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากเจ้าหน้าที่ที่ติดเชื้อ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.