ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
2. Reflex :- พบในสัตว์ที่มี CNS flat worm 2.1 Simple reflex = รีเฟลกซ์อย่างง่าย เช่น น้ำลายไหล การกระตุกแขน การกระตุกขา 2.2 Chain of reflexes = รีเฟลกซ์ต่อเนื่อง หรือ Fixed action pattern (FAP) = พฤติกรรมที่มีแบบแผนแน่นอน พฤติกรรมที่เกิดจากรีเฟลกซ์หนึ่ง เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะกระตุ้นให้เกิดรีเฟลกซ์อื่นๆ ติดตามมาโดยมีแบบแผนแน่นอน
2
1. การกินอาหารของสัตว์ตามธรรมชาติ
Chain of reflexes ที่เกิดขึ้นมีแบบแผนแน่นอนเป็นขั้นเป็นตอน จึงอาจเรียกเป็น FAP (fixed action pattern) หรือ Instinct (สัญชาตญาณ) ตัวอย่างพฤติกรรมรีเฟลกซ์ต่อเนื่อง เช่น 1. การกินอาหารของสัตว์ตามธรรมชาติ การแทะมะพร้าวของกระรอก การจิกอาหารของไก่ การฮุบเหยื่อของปลา การตวัดลิ้นจับแมลงของกบ การรวมกันของ FAP + Taxis เรียก Instinctive activity โดยเกิด FAP พร้อมกับ การเคลื่อนไหวที่มีทิศทางแน่นอน เห็นเหยื่อจะหันทั้งตัว Taxis แสดงพฤติกรรมการจับเหยื่อ (Prey-catching behavior)
3
การฟักไข่, การเลี้ยงลูกอ่อน Migration การร้องเพลงของนก
การฟักไข่, การเลี้ยงลูกอ่อน Migration การร้องเพลงของนก ในนก thrushes ตัวเล็กๆ ถึงแม้ถูกแยกเลี้ยงต่างหากตั้งแต่ฟักออกมา ก็ยังคงร้องเพลงที่เป็นลักษณะประจำพวกได้ FAP จะมีลักษณะเป็น Phylogenetic adaptation ซึ่งมีกลไกของ Co-ordinating control เช่น นกอีเสือ (Shrinkes) Lanius collurio รู้จักดึงเหล็กใน (Sting) ออกจากตัวผึ้ง ต่อ แตน ก่อนที่จะกินเป็นอาหาร นกพิราบ Streptopelia reseogrisea เลี้ยงลูกนกในลักษณะที่เหมือนกันทุกตัว
4
ในแมงมุม Cupiennius salei ยื่นก้นเข้าไปไข่ในรู ปิดรูและคาบไปเก็บ
การสร้างปลอกหุ้มไข่ของแมงมุม ในแมงมุม Cupiennius salei สร้าง cocoon เริ่มจากฐานก่อน และสร้างขอบ แล้วเจาะรูที่ขอบ ยื่นก้นเข้าไปไข่ในรู ปิดรูและคาบไปเก็บ * ถ้าตัดทำลายฐาน cocoon ขณะเริ่มสร้างฐาน มันจะไม่สร้างฐานใหม่และจะสร้างของจนเสร็จและวางไข่ และคาบไปเก็บทั้งๆ ที่ไม่มีไข่ การชักไยแมงมุม * ถ้าฉายแสงให้ต่อมที่สร้างไยแห้งสลายหมด ถึงแม้ไม่มีความสามารถสร้างไย มันก็จะยังแสดงพฤติกรรมการชักไยตามเดิม
5
Treatment ตาม FAP สร้าง cocoon 3 ชั้น
ในตัวอ่อนผีเสื้อ Platysamia cecropia (Kloot & Williams, 1953) Treatment ตาม FAP ถ้าให้สร้าง cocoon เพียง 2 ชั้นเสร็จแล้ว สร้าง cocoon 3 ชั้น ดึงตัวออกมา วางลงบน cocoon ที่เพิ่งสร้างได้ชั้นเดียว ผล จะสร้าง cocoon ชั้นที่ 3 เลย แทนที่จะ สร้างชั้นที่ 2 ก่อน มี FAP สร้าง 3 ชั้นแน่นอน
6
Lorenz & Tinbergen (1938) ศึกษา egg – rolling movement
การตะล่อมไข่กลับเข้ารังของ graylag goose Instinctive activity Lorenz & Tinbergen (1938) ศึกษา egg – rolling movement ของ graylog goose โดยถ้านำไข่ของตัวเมียที่กกไข่ในรังออกมานอกรัง ตัวเมียตามออกมานอกรังและยื่นปากออกมาเหนือไข่ล้ำไปข้างหน้า ตะล่อมไข่เดินถอยหลังเรื่อยๆ เพื่อกลับเข้ารังและเนื่องจากไข่กลม ไข่จึงกลิ้งไปมา FAP Taxis ใช้ปากตะล่อมส่ายไปขวาทีซ้ายที
7
ขณะกำลังแสดงพฤติกรรม
* ถ้าเอาไข่ออกไป goose ก็จะใช้ปากตะล่อมแล้วค่อยๆ ถอยเข้ารังโดยไม่มีไข่ (FAP) แต่ไม่มีการตะล่อมส่ายไปขวาทีซ้ายที เพราะไม่มีไข่เป็นสิ่ง กระตุ้น (no taxis) การเต้นรำของผึ้งเพื่อบอกอาหาร
8
Hibernation Estivation สุนัข ถ้าได้รับกระดูก ถ้าจะนอน
Courtship behavior การสร้างรังของสัตว์ Hibernation การจำศีลของสัตว์ Estivation FAP จะเกิดขึ้น เมื่อสภาวะภายในร่างกายพร้อมที่จะแสดงออก พร้อมๆ กับที่มีสิ่งกระตุ้น (releasing stimulus) ที่เหมาะสม เช่น สุนัข ถ้าได้รับกระดูก ถ้าจะนอน ในธรรมชาติจะตะกุยพื้นดิน ขุดดินด้วยขาหลัง เพื่อกลบ กระดูกและสามารถฝังกระดูก ได้ ถ้าอยู่บนพื้นคอนกรีต ก็แสดงพฤติกรรมเช่น เดียวกันโดยอัตโนวัติ - ในธรรมชาติจะหมุนไปรอบๆ และตะกุยดินลงไปนอนในหลุม - อยู่บนบ้านก็จะหมุนหลายๆ รอบและตะกุยพื้นจึงนอน
11
การค้นหาหัวนมแม่ของทารก เมื่อทารกหิว จะส่ายหัวไปข้างซ้ายที ขวาที และจะหยุดเมื่อปากเจอหัวนมแม่
การกำสิ่งของในมือเด็ก ถ้าเอานิ้วเขี่ยฝ่ามือเด็ก เด็กจะกำนิ้วไว้ทันที โดยเริ่มจากนิ้วกลาง และนิ้วนางก่อน ตามด้วยนิ้วชี้ นิ้วก้อย และนิ้วหัวแม่มือจะเป็นนิ้วสุดท้ายเสมอ การอพยพย้ายถิ่นของสัตว์ (Migration)
12
ลักษณะสำคัญของพฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ต่อเนื่อง
1. เป็นพฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างอัตโนวัติที่มีแบบแผนแน่นอน (Fixed action pattern) และมีลักษณะเฉพาะในสัตว์แต่ละชนิด 2. สามารถแสดงพฤติกรรมออกได้อย่างถูกต้อง แม้ว่าสัตว์นั้นจะถูกเลี้ยงแยกจากเพื่อนร่วมสปีชีส์ก็ตาม 3. พฤติกรรมที่เกิดขึ้น มักจะเป็นการเกิดพร้อมไปกับการเคลื่อนไหวที่มีทิศทางแน่นอน (Taxis) เช่น พฤติกรรมของคางคก ตอนที่จะหาเหยื่อจะแสดงพฤติกรรมการจับเหยื่อออกมา โดยในตอนแรกเมื่อเห็นเหยื่อ เช่น แมลงจะเกิดแทกซิสโดยหันหน้าหาแมลง โดยหันทั้งตัว จากนั้นพฤติกรรมรีเฟลกซ์ต่อเนื่องจะเกิดขึ้น คือ ร้อง และแลบลิ้นออกมาตวัดแมลงเป็นอาหาร 1 แสดงการล่าเหยื่อในกบ 1. เป็นแทกซิส 2. เป็นรีเฟลกซ์ต่อเนื่อง 2
13
4. พฤติกรรมนี้จะแสดงออกมาได้ต้องขึ้นอยู่กับความพร้อมของร่างกายและอาจถูกเปลี่ยนแปลงได้บ้าง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพทางสรีระของสัตว์ สภาพแวดล้อมรอบตัวสัตว์ และประสบการณ์ที่สัตว์แต่ละตัวได้รับ เช่น การสร้างรังของนก เป็นพฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ต่อเนื่องที่ไม่จำเป็นจะต้องเรียนรู้ แต่จากการศึกษาพบว่านกอายุมากจะสร้างรังได้ดีกว่านกอายุน้อย 5. เดิมทีเดียวนักชีววิทยาเรียกพฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ต่อเนื่องจาก สัญชาตญาณ (Instinct) แต่ในปัจจุบันใช้กันน้อยมาก เพราะความหมายของคำนี้กว้างเกินไป ซึ่งอาจหมายรวมไปถึงพฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิดทุกๆ แบบด้วย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.