งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 23 เมษายน 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 23 เมษายน 2557"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 23 เมษายน 2557
การประชุมเชิงปฏิบัติการผลักดันนโยบาย การสนับสนุนส่งเสริมถุงยางอนามัย สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 23 เมษายน 2557

2 การคาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อใหม่
และจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ๒๕๒๘ - ๒๕๗๓ Integration, decentralization, and sustainability Health approach Socio-economic and development approach Getting to Zero ผู้ติดเชื้อที่ยังมีชีวิต 464,086 การที่ประเทศไทยเผชิญกับปัญหาเอดส์มาเกือบ ๓ ทศวรรษ ทำให้สังคมไทยได้ตระหนักและเรียนรู้ว่าการที่จะต่อสู้กับปัญหาเอดส์ได้นั้น หน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคประชาสังคม เอกชน และชุมชน จำเป็นจะต้องผนึกกำลังกันอย่างเข้มแข็ง และทำงานกันอย่างสอดประสานโดยต่อเนื่อง แนวโน้มการติดเชื้อเอดส์ใหม่รายปีและจำนวนผู้อยู่กับเชื้อเอดส์ยังลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่ทั่วโลกกำลังมุ่งสู่ความเป็นศูนย์ และประเทศไทยก็จะเป็นหนึ่งในประเทศแรกๆของโลกที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าว 297,879 8,719 ผู้ติดเชื้อรายใหม่ 6,139

3 ที่มา : กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข อ้างใน การสาธารณสุขไทย 2551 - 2552 

4 ปี พ.ศ.

5 พฤติกรรมป้องกันเพิ่มขึ้น
การใช้ถุงยางอนามัยถูกต้องและสม่ำเสมอ ประชากร ข้อมูลพื้นฐาน เป้า หมายปี 2562 % การเปลี่ยน แปลง ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย 86% 95% 9% พนักงานบริการหญิง 94% 1% พนักงานบริการชาย 98% 99% ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด 49% 90% 41% ผู้ต้องขัง 40% 50% เยาวชนในสถานพินิจ 17% 30% 13% คู่ของผู้มีเชื้อ N/A 70%

6 แผนยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ 2557-2559
Zero New HIV Infections จำนวนผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง ๒ ใน ๓ จากที่คาดประมาณ อัตราการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด น้อยกว่า ร้อยละ ๒ Zero AIDS-related Deaths ผู้ติดเชื้อฯ ทุกคนในแผ่นดินไทย เข้าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิต ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิตเนื่องจากวัณโรค ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ Zero Discrimination กฎหมายและนโยบาย ที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการป้องกันดูแลรักษาได้รับการแก้ไข การทำงานเอดส์ทุกด้านมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการเคารพสิทธิมนุษยชน และจำเพาะกับเพศสภาวะ จำนวนการถูกเลือกปฏิบัติหรือการละเมิดสิทธิ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ Innovations and Changes เร่งรัดขยายการป้องกันให้ครอบคลุมพื้นที่ และประชากร ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงและคาดว่าจะมีจำนวนการติดเชื้อฯใหม่ มากที่สุด ขยายการปกป้องทางสังคมและปรับเปลี่ยนสภาวะ แวดล้อมทางกฎหมายที่มีความสำคัญต่อการป้องกันและ การรักษา เพิ่มความร่วมรับผิดชอบและเป็นเจ้าของร่วมใน ระดับประเทศ จังหวัด และท้องถิ่น พัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ Optimization and Consolidation ป้องกันการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด ป้องกันการติดเชื้อฯ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน ส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยแบบบูรณาการ บริการโลหิตปลอดภัย ดูแลรักษาและการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ติดเชื้อฯ ดูแลเด็กและครอบครัวที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ การลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติ การสื่อสารสาธารณะ เคารพสิทธิและละเอียดอ่อนเรื่องเพศ เอดส์ไม่ใช่เพียงโรคและความเจ็บป่วย เสริมพลังอำนาจ มุ่งเน้นเป้าหมาย ภาวะผู้นำและเป็นเจ้าของ ภาคีเครือข่ายการทำงาน

7 ค่าเป้าหมายการดำเนินงานรายปี
เป้าหมายลดโรคระดับกรม กลุ่มเป้าหมาย : กลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย กลุ่มพนักงานบริการ กลุ่มผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด และแรงงานข้ามชาติ ผู้ต้องขัง คู่ผลเลือดต่าง พื้นที่เป้าหมาย : ทุกจังหวัด : พื้นที่เร่งรัด 33 จังหวัด (กรณีงบฯจำกัด) ตัวชี้วัดระดับกรม ค่าเป้าหมายการดำเนินงานรายปี 2558 2559 2560 2561 2562 ร้อยละของประชากร ใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดใน 12 เดือนที่ผ่านมา 1.1 Youth 70 75 78 80 1.2 MSM 95 1.3 FSW 1.4 PWID 2. จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ (คน) 256,171 266,162 281,819 297,475 313,131

8

9 ส่งเสริมการใช้และพัฒนาการบริหารจัดการถุงยางอนามัยและ
มาตรการและกิจกรรมหลักเกี่ยวกับถุงยางอนามัย สื่อสารสาธารณะเพื่อสร้างภาพลักษณ์ของ ถุงยางอนามัยให้เป็นอุปกรณ์สุขอนามัยทางเพศ มาตรการที่ 3 ส่งเสริมการใช้และพัฒนาการบริหารจัดการถุงยางอนามัยและ สารหล่อลื่น สนับสนุนถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น สร้างเครื่องมือและพัฒนาแนวทางการระดม ความร่วมมือของทุกภาคส่วนในการจัดหาและ กระจายถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น

10 กรอบปฏิบัติงานเชิงยุทธศาสตร์
เป้าประสงค์ : ไม่มีผู้ติดเชื้อฯ รายใหม่, ไม่มีผู้เสียชีวิตจากเหตุที่เกี่ยวเนื่องกับเอดส์, และ ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ การเข้าสู่ระบบ – การตรวจเอดส์ – การรักษา – การคงอยู่ในระบบ (RECRUIT) (TEST) (TREAT) (RETAIN) กำหนดบริการที่ต่อเนื่องตลอดทั้ง 4 องค์ประกอบ ประเด็นร่วม: การทำให้ระบบเข้มแข็งและการสร้างสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน


ดาวน์โหลด ppt สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 23 เมษายน 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google