ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทที่ 7 การตลาดธุรกิจขนาดย่อม
ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา SME yalada
2
ตลาด (Market) ตามหลักวิชาการตลาด กลุ่มบุคคลหรือองค์กร
มีความจำเป็นและความต้องการ (Needs and Wants) มีความเต็มใจในการแลกเปลี่ยน มีความสามารถในการแลกเปลี่ยน มีอำนาจในการตัดสินใจซื้อ เพื่อให้ได้รับความพอใจของตน SME yalada
3
ประเภทตลาดแบ่งตามวัตถุประสงค์การซื้อออกได้
2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. ตลาดผู้บริโภค (Customer Market) นำไปใช้เอง (ผู้บริโภคขั้นสุดท้าย) 2. ตลาดองค์การ(Organization Market) เช่น นำไปผลิตต่อหรือขายต่อหรือตลาดคนกลาง ตลาดผู้ผลิต(Producer Market) ตลาดผู้ขายต่อ(Reseller Market) ตลาดรัฐบาล (Government Market) SME yalada
4
ประเภทตลาดแบ่งตามวัตถุประสงค์การซื้อออกได้
2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. ตลาดผู้บริโภค (Customer Market) 2. ตลาดองค์การ(Organization Market) เช่น ผู้ขายต่อหรือตลาดคนกลาง 3 ตลาดรัฐบาล (Government Market) ซื้อ 4. ตลาดต่างประเทศ * ขายต่อหรือให้เช่า ใช้เอง (ผู้บริโภค) ผลิตสินค้าหรือบริการ ผู้ขายต่อ หรือ รัฐบาล ผู้ซื้อ ในตปท. SME yalada
5
พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการซื้อและกระบวนการตัดสินใจซื้อ ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการซื้อ 1.1. ปัจจัยทางวัฒนธรรม (Demographic variable) 1.1.1 วัฒนธรรม วัฒนธรรมย่อย ชนชั้นสังคม 1.2. ปัจจัยทางด้านสังคม (Geographic variable) 1.2.1 กลุ่มอ้างอิง ครอบครัว บทบาทและสถานภาพ 1.3. ปัจจัยส่วนบุคคล 1.3.1 อายุและวัฎจักรชีวิต อาชีพ สถานะทางเศรษฐกิจ บุคลิกภาพและแนวเกี่ยวกับตัวเอง 1.4. ปัจจัยทางจิตวิทยา (Psychographic variable) 1.4.1 การจูงใจ การรับรู้ SME yalada
6
2. กระบวนการตัดสินใจซื้อ 2
2. กระบวนการตัดสินใจซื้อ การตระหนักถึงความต้องการ(need recognition) 2.2 การเสาะหาข้อมูล(information search) การประเมินทางเลือก(alternative evaluation) การตัดสินใจซื้อ(purchase decision) พฤติกรรมหลังการซื้อ (post purchase behavior ) SME yalada
7
การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันทางการตลาด
การแบ่งส่วนตลาด ระดับของการแบ่งส่วนตลาด การตลาดรวม การตลาดแบบแบ่งส่วน การตลาดกลุ่มย่อย การตลาดจุลภาค ตลาดรวม ตลาดแบบแบ่งส่วน ตลาดกลุ่มย่อย ตลาดจุลภาค ไม่มีการแบ่งส่วนตลาด การแบ่งส่วนตลาดแบบสมบรูณ์ SME yalada
8
ตัวแปรในการแบ่งส่วนตลาดผู้บริโภค (4)
1. ตัวแปรด้านภูมิศาสตร์ 2. ตัวแปรด้านประชากร 3. ตัวแปรด้านจิตพิสัย 4. ตัวแปรด้านพฤติกรรม (Behavioristic variable) * นักการตลาดส่วนใหญ่เห็นว่าเป็นเกณฑ์ที่เหมาะสมที่สุดในการแบ่งส่วนตลาด 4.1 ผลประโยชน์ที่ลูกค้าแสวงหา (Benefit sought) 4.2 อัตราการใช้ (Usage rate) 4.3 ความซื่อสัตย์ (Brand Loyalty) การกำหนดตลาดเป้าหมาย (Selecting Target Markets) การตลาดแบบไม่แตกต่าง การตลาดแบบแตกต่าง การตลาดแบบมุ่งเฉพาะส่วน SME yalada
9
การตลาดแบบไม่แตกต่าง (Undifferentiated Marketing หรือ Mass Marketing)
Segment 1 Segment 2 Segment 3 Marketing Mix (4Ps) ข้อดี เกิดการประหยัดด้านต้นทุนการผลิตและด้านการตลาด จุดอ่อน ยากในการหาสินค้าที่เป็นที่พอใจของลูกค้าทุกรายในตลาด SME yalada
10
การตลาดแตกต่าง (Differentiated Marketing)
Marketing Mix 1 Marketing Mix 2 Marketing Mix 3 Segment 1 Segment 2 Segment 3 ข้อดี - กระจายความเสี่ยง - มีโอกาสที่จะเป็นผู้นำตลาด (Market leader) หรือ มี Market share เพิ่มขึ้น ข้อเสีย - ค่าใช้จ่ายสูง SME yalada
11
การตลาดมุ่งเฉพาะส่วน (Concentrated Marketing)
Segment 1 Segment 2 Segment 3 Marketing Mix (4Ps) ธุรกิจขนาดเล็ก ใช้วิธีนี้เพื่อต่อสู้กับธุรกิจขนาดใหญ่ หรือที่เรียกว่า Niche Marketing หรือ Micro marketing ข้อดี - เข้าใจในกลุ่มเป้าหมายเป็นอย่างดี - ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดีทำให้เกิด Competitive advantage ข้อเสีย - มีความเสี่ยงสูง SME yalada
12
ความหมายของผลิตภัณฑ์ สิ่งใด ๆ ที่นำเสนอแก่ตลาด เพื่อ
ความหมายของผลิตภัณฑ์ สิ่งใด ๆ ที่นำเสนอแก่ตลาด เพื่อ ให้เกิดความสนใจ ความต้องการเป็นเจ้าของ การใช้หรือบริโภค ซึ่ง สามารถตอบสนองความต้องการ (Want) หรือ ความจำเป็น (Need) ผลิตภัณฑ์ประกอบด้วย สัมผัสได้ สัมผัสไม่ได้ SME yalada
13
(Industrial Products)
ประเภทของผลิตภัณฑ์ ประเภทของผลิตภัณฑ์ สินค้าอุปโภคบริโภค (Consumer Products) สินค้าอุตสาหกรรม (Industrial Products) (4 ประเภท) (3 กลุ่ม) SME yalada
14
1. สินค้าอุปโภคบริโภค (Consumer Products)
1.1 สินค้าสะดวกซื้อ (Convenience Products) ซื้อน้อย, ราคาต่ำ, ซื้อได้บ่อย ๆ สินค้าหลัก (Stable Goods) สินค้าที่ซื้อฉับพลัน(Impulse Goods) * โดยไม่ตั้งใจ * เกิดจากการระลึกได้ * เกิดจากการเสนอแนะ * ที่กำหนดเงื่อนไขไว้ สินค้าที่ซื้อในยามฉุกเฉิน (Emergency Goods) SME yalada
15
(1) สินค้าสะดวกซื้อ Convenience Products สินค้าหลัก Staple Products
สินค้าที่ซื้อฉับพลัน Impulse Products สินค้าที่ซื้อในยาม ฉุกเฉิน Emergency Products การซื้อฉับพลันโดยไม่ได้ตั้งใจ Pure Impulse Buying การซื้อฉับพลันที่เกิดจากการระลึกได้ Reminder Impulse Buying การซื้อฉับพลันที่เกิดจากการเสนอแนะ Suggestion Impulse Buying การซื้อฉับพลันที่กำหนดเงื่อนไขไว้ Planned Impulse Buying (1) SME yalada
16
1.2.1 ที่เหมือนกัน (Homogeneous) 1.2.2 ที่แตกต่างกัน (Heterogeneous)
2. ผลิตภัณฑ์เลือกซื้อ (Shopping Products) ที่เหมือนกัน (Homogeneous) ที่แตกต่างกัน (Heterogeneous) 3. ผลิตภัณฑ์เจาะจงซื้อ (Specialty Products) 4. ผลิตภัณฑ์ไม่แสวงซื้อ (Unsought Products) SME yalada
17
(2) ผลิตภัณฑ์เปรียบเทียบซื้อ Shopping Products
ผลิตภัณฑ์เปรียบเทียบซื้อที่เหมือนกัน Homogeneous Shopping Products ผลิตภัณฑ์เปรียบเทียบซื้อที่ต่างกัน Heterogeneous Shopping Products ผลิตภัณฑ์เปรียบเทียบซื้อ Shopping Products SME yalada
18
2. ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (Industrial Products) แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1 วัตถุดิบและชิ้นส่วนประกอบ - วัตถุดิบ (Row Material) * ผลิตภัณฑ์เกษตรกรรม * ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ - วัสดุชิ้นส่วนประกอบในการผลิต * วัสดุประกอบ * ชิ้นส่วนประกอบ SME yalada
19
กลุ่มที่ 1 ผลิตภัณฑ์เกษตรกรรม วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ วัตถุดิบและ
ชิ้นส่วนประกอบ วัวัสดุประกอบ วัสดุและชิ้นส่วน ประกอบในการผลิต ชิ้นส่วนประกอบ SME yalada
20
กลุ่มที่ 3 อะไหล่และบริการ
กลุ่มที่ 2 ผลิตภัณฑ์ประเภททุน - สิ่งที่ติดตั้ง (Installation) * สิ่งปลูกสร้างและอาคาร * อุปกรณ์ถาวร - อุปกรณ์ประกอบ (Accessory Equipment) * อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ในโรงงาน * อุปกรณ์ในสำนักงาน กลุ่มที่ 3 อะไหล่และบริการ * วัสดุสิ้นเปลือง (Supplies) - วัสดุบำรุงรักษาทำความสะอาด - วัสดุซ่อมแซม - วัสดุในการดำเนินงาน * บริการ (Services) - บริการบำรุงรักษา - บริการซ่อมแซม - ให้คำแนะนำแก่ธุรกิจ SME yalada
21
ส่วนประสมผลิตภัณฑ์ * สายผลิตภัณฑ์ (Product Line)
- กลุ่มของผลิตภัณฑ์หลายชนิดที่มีความสัมพันธ์ ใกล้ชิดในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ส่วนประสมผลิตภัณฑ์ (Product Mix) - กลุ่มของผลิตภัณฑ์ทุกชนิดที่ธุรกิจใดธุรกิจหนึ่ง นำเสนอหรือผลิตออกจำหน่าย * * รายการผลิตภัณฑ์ (Product Item) - ลักษณะที่แตกต่างกันของสินค้าแต่ละตัวภายใน สายผลิตภัณฑ์ SME yalada
22
Product Mix Item 1 Item 2 Item 3 Item 1 Item 2 Item 3 Item 1 Item 2
Line 1 Product Line 2 Product Line 3 Item 1 Item 2 Item 3 Item 1 Item 2 Item 3 Item 1 Item 2 Item 3 SME yalada
23
กลยุทธ์ส่วนประสมผลิตภัณฑ์ (Product Mix) 1. การขยายส่วนผสมผลิตภัณฑ์
1. การขยายส่วนผสมผลิตภัณฑ์ 2. การลดส่วนผสมผลิตภัณฑ์ 3. การเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ 4. การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ * ตามความคิดเห็นของผู้บริโภค * ตามคุณสมบัติหรือคุณลักษณะ ของผลิตภัณฑ์ SME yalada
24
4.2 ตามลักษณะผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ 4.3 ตามคุณสมบัติและผลประโยชน์
4.1 ตามราคาและคุณภาพ 4.2 ตามลักษณะผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ 4.3 ตามคุณสมบัติและผลประโยชน์ ของผลิตภัณฑ์ 4.4 ตามการใช้และการนำไปใช้ 4.5 ตามระดับชั้นผลิตภัณฑ์ 4.6 เพื่อการแข่งขัน 4.7 หลายวิธีร่วมกัน 5. การขยายสู่ตลาดส่วนบนและล่าง 5.1 การขยายสู่ส่วนบน (Trading Up) 5.2 การขยายสู่ส่วนล่าง (Trading Down) SME yalada
25
6 ตราสินค้าและป้ายฉลาก 1. ตราสินค้า (Brand)
6 ตราสินค้าและป้ายฉลาก 1. ตราสินค้า (Brand) 2. ชื่อตราสินค้า (Brand Name) 3. เครื่องหมายตราสินค้า (Brand Mark) 4. เครื่องหมายการค้า (Trade Mark) 5. โลโก้ (Logo) ความสำคัญของตราสินค้า 1. ลูกค้าเรียกชื่อสะดวก ถูกต้อง 2. สะดวกในการซื้อซ้ำ 3. สร้าง/เพิ่มความเชื่อถือในมาตรฐาน 4. แสดงคุณลักษณะที่แตกต่าง 5. สะดวกในการขาย 6. ช่วยในการกำหนดราคา 7. ช่วยกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ SME yalada
26
ทางเลือกของกลยุทธ์ตราผลิตภัณฑ์
1. การขยายตราผลิตภัณฑ์ แนะนำผลิตภัณฑ์เดิมโดยใช้ตราเดิม 2. การขยายตราผลิตภัณฑ์ ใช้ตราเดิมในผลิตภัณฑ์ใหม่เ ช่น รถฮอนด้า 3. การเพิ่มตรา 4. ตราผลิตภัณฑ์ใหม่ SME yalada
27
การบรรจุหีบห่อ หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ และผลิตภาชนะบรรจุหรือสิ่งห่อหุ้มสินค้า การบรรจุหีบห่อ มี 3 ลักษณะ 1. การบรรจุหีบห่อชั้นแรก 2. การบรรจุหีบห่อชั้นสอง 3. การบรรจุหีบห่อเพื่อการขนส่ง ความสำคัญของการบรรจุหีบห่อ 1. ทำหน้าที่บรรจุภัณฑ์ 2. ป้องกันความเสียหาย 3. ช่วยอำนวยความสะดวก 4. เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค 5. เป็นพนักงานขายเงียบ SME yalada
28
ป้ายฉลาก (Label) 1. ป้ายฉลากแสดงตราสินค้า นโยบายและกลยุทธ์ป้ายฉลาก
1. ป้ายฉลากแสดงตราสินค้า 2. ป้ายฉลากแสดงคุณภาพ 3. ป้ายฉลากแสดงรายละเอียดสินค้า นโยบายและกลยุทธ์ป้ายฉลาก 1. ข้อความเด่นชัด กะทัดรัด เข้าใจง่าย 2. ให้ข้อมูลที่สำคัญครบถ้วน 3. ข้อมูลเป็นข้อเท็จจริงที่พิสูจน์ได้ 4. แสดงเครื่องหมายรับรองคุณภาพ SME yalada
29
การตัดสินใจเรื่องส่วนประสมผลิตภัณฑ์
1. ความกว้างของส่วนผสมผลิตภัณฑ์ (Width of the Product Mix) Product Line มาก น้อย ส่วนประสมกว้าง ส่วนประสมแคบ SME yalada
30
2. ความลึกของส่วนผสมผลิตภัณฑ์ (Depth of the Product Mix)
2. ความลึกของส่วนผสมผลิตภัณฑ์ (Depth of the Product Mix) Product Item มาก น้อย ส่วนประสมลึก ส่วนประสมไม่ลึก SME yalada
31
3. ความยาวของส่วนผสมผลิตภัณฑ์ (Length of the Product Mix)
3. ความยาวของส่วนผสมผลิตภัณฑ์ (Length of the Product Mix) * Product Item ทั้งหมด 4. ความสอดคล้องกันของส่วนผสมผลิตภัณฑ์ (Consistency of the Product Mix) SME yalada
32
Product Mix Product Line 1 Product Line 2 Product Line 3 Item 1 Item 2
สายผลิตภัณฑ์: 3 สาย (Product Line) ความยาว: 9 (Length of the Product) ลึก SME yalada
33
P&G / Product Line แชมพู / ครีมนวด ผ้าอนามัย ยาสีฟัน สบู่ โลชั่น Snack
ผ้าอ้อมเด็ก แพนทีน Rejoice Head & Shoulder Prinkle Ivory Safeguard Oil of Olay Crest วิสเปอร์ Carefree Oil of Olay Pampers SME yalada
34
ราคา (Price) ความหมาย ราคา หมายถึง มูลค่าของสินค้าหรือบริการที่สามารถวัดได้โดยรูปของจำนวนเงินเพื่อก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนหรือโอนย้ายกรรมสิทธิ์ในสินค้าและบริการ ราคา หมายถึง จำนวนเงินที่ใช้แลกเปลี่ยนกับมูลค่าของผลิตภัณฑ์ ซึ่งผลิตภัณฑ์นั้น อาจรวมเอาอรรถประโยชน์ด้านอื่น ๆ และมีการบริการที่เหมาะสมเข้าไปด้วย ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว อาจเป็นแบบสำเร็จรูป หรือกึ่งสำเร็จรูปก็ได้ SME yalada
35
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจด้านราคา
1. ปัจจัยภายใน (Internal Factors) 1.1 เป้าหมายและวัตถุประสงค์ขององค์กร 1.2 ต้นทุน (Cost) 1.3 ลักษณะของผลิตภัณฑ์ 1.4 วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ SME yalada
36
Sum of the Fixed and Variable Costs for a Given
Types of Costs Fixed Costs (Overhead) Costs that don’t vary with sales or production levels. Executive Salaries Rent Variable Costs Costs that do vary directly with the level of production. Raw materials Total Costs Sum of the Fixed and Variable Costs for a Given Level of Production SME yalada
37
2. ปัจจัยภายนอก (External Factors)
2.1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์(ราคา) 2.2 การแข่งขัน (Competition) - แบบสมบูรณ์ (Pure cpmpetition) - แบบกึ่งผูกขาด (Monopolistic) - แบบผู้ประกอบการน้อยราย (Oligopoly) - แบบผูกขาด (Monopoly) 2.3 บทบาทของกฎหมายและรัฐบาล 2.4 สภาพเศรษฐกิจ ภาวะเงินเฟ้อและเงินฝืด วัฎจักรเศรษฐกิจ SME yalada
38
วิธีพื้นฐานในการตั้งราคา
1. การตั้งราคาทางปฏิบัติ (Price Setting in Practice) ระดับผู้ผลิต: ใช้วิธีการกำหนดราคา 1. โดยอาศัยผลตอบแทนตามเป้าหมายของเงินลงทุน หรือ 2. โดยอาศัยจุดคุ้มทุน SME yalada
39
Mark up on Price Mp = P - C x 100 P Mark up on Cost Mc = P - C x 100 C
ระดับคนกลาง: 1. วิธีการบวกกำไรเข้าไปในราคาขาย 2. วิธีการบวกกำไรเข้าไปในต้นทุน Mark up on Price Mp = P - C x 100 P Mark up on Cost Mc = P - C x 100 C SME yalada
40
Example: การหาราคาขาย
ถ้าห้างสรรพสินค้าโรบินสัน ซื้อรองเท้ากีฬายี่ห้อ NIKE มาในราคาคู่ละ 200 บาท อยากทราบว่าทางห้างฯ ควรนำสินค้าดังกล่าวมาขายให้กับลูกค้าที่ราคาเท่าใด 1. ใช้วิธีการบวกกำไรเข้าไปในราคาขาย (Mark up on Price) 20% 2. ใช้วิธีการบวกกำไรเข้าไปในราคาทุน (Mark up on Cost) 20% SME yalada
41
1. Mark up on Price 20% Mp = P - C X 100 P 20 = (P - 200) X 100
20 = ,000 -80 = -20,000 P = 250 บาท SME yalada
42
2. Mark up on Cost 20% Mc = P - C X 100 C 20 = (P - 200) X 100 200
= 100P 120 = 0.5P P = 240 บาท SME yalada
43
Example: การหาราคาทุน
ถ้าห้างเซ็นทรัลขายเสื้อเชิ้ต Arrow ในราคาตัวละ 450 บาทอยากทราบว่าทางห้างฯ ควรซื้อเสื้อดังกล่าวมาในราคาตัวละเท่าใด ถ้า 1. ใช้วิธีการบวกกำไรเข้าไปในราคาขาย (Mark up on Price) 20% 2. ใช้วิธีการบวกกำไรเข้าไปในราคาทุน (Mark up on Cost) 20% SME yalada
44
วิธีพื้นฐานในการตั้งราคา (ต่อ)
2. การตั้งราคาทางทฤษฎี (Price Setting in Theory) จุดคุ้มทุน (Break Even Point) สูตร TC = TR FC + (VC * Q) = P * Q FC = P * Q - VC * Q FC = Q (P - VC) Q = FC (p - VC) 1 กำไรสุทธิ = TR - TC 2 SME yalada
45
Example: Q = 2,300 = 2,300 (25 - 10) 15 = 153.33 Answer 154 เล่ม
1. สมุดปกแข็งราคาเล่มละ 25 บาท ต้นทุนคงที่รวม 2,300 บาท ต้นทุนผันแปร 10 บาท ต่อเล่ม จงหา Break-even point Q = , = 2,300 ( ) = Answer 154 เล่ม ถ้าตอบ กำไรสุทธิ = TR - TC กำไรสุทธิ = 153 (25) - (2, (153)) = 3, ,830 = ขาดทุน 5 บาท SME yalada
46
Example: 2. ถ้าต้องการกำไร 5,005 บาท ต้องขายกี่เล่ม
2. ถ้าต้องการกำไร 5,005 บาท ต้องขายกี่เล่ม กำไรสุทธิ = TR - TC = (P * Q) - (FC+ VC * Q) 5,005 = 25Q - (2, Q) 5,005 = 25Q - 2, Q 5, ,300 = 15Q Q = 7, = เล่ม 15 SME yalada
47
Example: กำไร = 600(25) - (2,300 + 10(600)) = 15,000 - (2,300 + 6,000)
3. ถ้าขายได้ 600 เล่ม จะได้กำไรเท่าไหร่ กำไร = 600(25) - (2, (600)) = 15,000 - (2, ,000) = 15, ,300 = 6,700 บาท SME yalada
48
ช่องทางการจัดจำหน่าย (Channel of Distribution)
1. ความหมายของช่องทางการจัดจำหน่าย 2. ประโยชน์ของคนกลาง 3. หน้าที่ในช่องทางการจัดจำหน่าย 1. ความหมายของช่องทางการจัดจำหน่าย ช่องทางการจัดจำหน่าย: “กลุ่มองค์กรอิสระที่ช่วยอำนวยการขนย้ายแลกเปลี่ยนสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค หรือผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม” ผู้ผลิต/ ตัวแทน ช่องทางการ จัดจำหน่าย ผู้บริโภค SME yalada
49
ผู้มีส่วนร่วมในช่องทางจัดจำหน่าย
1. ผู้มีส่วนร่วมที่เป็นสมาชิก (Member participants) “ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ซื้อและขายรวมทั้ง การโอนกรรมสิทธิ์สินค้า” 1.1 พ่อค้าคนกลาง (Merchant middleman) - มีกรรมสิทธิ์ / ค้าปลีก / ค้าส่ง 1.2 ตัวแทนคนกลาง (Agent middleman) - ไม่มีกรรมสิทธ์ / นายหน้า SME yalada
50
จำนวนระดับของช่องทางการจำหน่าย
ผู้ผลิต ผู้บริโภค 1. ช่องทางการจำหน่ายทางตรง 2. ช่องทางการจำหน่ายทางอ้อม (ผ่านคนกลาง) ช่องทาง 1 ระดับ ช่องทาง 2 ระดับ ผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภค ตัวแทน ช่องทาง 3 ระดับ SME yalada
51
(Physical Distribution)
การกระจายสินค้า (Physical Distribution) หมายถึง “การเคลื่อนย้าย และ การเก็บรักษาสินค้าและวัตถุดิบจากผู้ขาย ไปยัง จุดหมายปลายทาง หรือ อาจจะหมายถึงการเคลื่อนย้ายสินค้าสำเร็จรูปจากแหล่งผลิต ไปยัง แหล่งผู้บริโภคคนสุดท้าย หรือ เคลื่อนย้ายจากแหล่งขาย ไปยัง แหล่งผลิต” ประกอบด้วย 5 ระบบย่อย 1. ระบบการจัดการวัสดุ - รับสินค้าเข้าสู่คลังสินค้า - การระบุ แยกประเภท และทำฉลากสินค้า - การกระจายสินค้า (ภายในคลังสินค้า) - การจัดสินค้า เพื่อการขนส่งและบรรจุหีบห่อ SME yalada
52
2. ระบบการรับคำสั่งซื้อ 3. การบรรจุหีบห่อ 4 . ระบบการคลังสินค้า
* คลังสินค้าของตนเอง * คลังสินค้าสาธารณะ * ศูนย์ การกระจายสินค้า 5. ระบบการขนส่ง ( 5 ประเภท) 5.1 การขนส่งทางรถไฟ 5.2 การขนส่งทางรถ 5.3 การขนส่งทางเครื่องบิน 5.4 การขนส่งทางเรือ 5.5 การขนส่งทางท่อ SME yalada
53
การส่งเสริมการตลาด หมายถึง การรณรงค์กิจกรรมทางด้านการตลาดเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่บริษัทตั้งเป้าหมายไว้ โดยการใช้เครื่องมือประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือร่วมกันทั้ง 4 ประเภทคือ 1. การโฆษณา (Advertising) 2. การขายโดยบุคคล(Personnel Selling) 3. การส่งเสริมการขาย (Sales Promotion) 4. การประชาสัมพันธ์ (Public relation) SME yalada
54
ส่วนประสมการส่งเสริมการตลาด (Promotional Mix or Promotion Sub-Mix)
กิจการ เครื่องมือ ทางการตลาด ทั้ง 4 ผู้บริโภค ติดต่อสื่อสารข้อมูล รับรู้ เข้าใจ จดจำ ซื้อ ฯลฯ SME yalada
55
จบบทที่ 7 แล้วจ้า ขอขอบคุณที่สนใจฟัง... SME yalada
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.